seeddemo - Decode

SLIDER • HEADLINE

GRID • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

GRID • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Welfare state

ถอดรหัสความล้มเหลวของรัฐสวัสดิการไทยในเลนส์ของ Acemoglu ‘Why Nations Fail’

Reading Time: < 1 minuteAcemoglu กับ Johnson เป็นอาจารย์อยู่ที่ MIT ส่วน Robinson เป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยที่มหาวิทยาลัยชิคาโก เขาเชี่ยวชาญเรื่องเศรษฐกิจแอฟริกาและละตินอเมริกาเป็นพิเศษ เมื่อปี 2012 Acemoglu จับมือกับ Robinson เขียนหนังสือชื่อ “ทำไมบางชาติถึงล้มเหลว” (Why Nations Fail) ที่พยายามไขปริศนาว่าทำไมบางประเทศถึงรวย ในขณะที่บางประเทศยากจนแสนเข็ญ อันเป็นสิ่งที่ผู้คนตั้งคำถามกันมาหลายศตวรรษ ภูมิประเทศ ทรัพยากร ศาสนา ชาติพันธุ์  กองทัพ ความสามารถของผู้นำ ?  

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Play Read,Economy,Human Rights

ไม้ขีดไฟก้านเดียวของ ชุน แท-อิล

Reading Time: 4 minutesลมหนาวในบ่ายวันที่ 13 พฤศจิกายน 2513 หน้าตลาดสันติภาพ กรุงโซล ท่ามกลางความมืดมิดของสิทธิแรงงาน สิทธิเสรีภาพ จากระบอบโครงสร้างทุนและรัฐเผด็จการ มีไม้ขีดไฟก้านหนึ่ง จุดประกายความคิดสังคมเกาหลีและจากโลกนี้ไปพร้อมเปลวไฟลุกท่วมร่าง บ่ายวันนั้น ไม้ขีดไฟก้านหนึ่งชื่อ ‘ชุน แท-อิล’ พาให้สังคมเกาหลีใต้มองเห็น ‘สิ่งที่ทุกคนเลี่ยงจะมองไม่เห็นมันไม่ได้ เพราะคุณเห็นมันทุกเวลา’ นั่นคือ ความเป็น “คนจนเหลือเฝือ” ไม่ได้ถูกขูดรีดโดยใครคนใดคนหนึ่งเท่านั้น แต่เป็นการกดทับจากระบบโครงสร้าง ที่ประกอบขึ้นโดย “คนที่มีจนเหลือเฝือ” เพียงส่วนน้อยแต่กดทับคนส่วนมากเอาไว้

นทธร เกตุชู

GRID • LIST • PAGINATION

ด้วยรักและความตาย พังทลายเพื่อซ่อมแซมรอยแตกหัก

Reading Time: 3 minutesหนังสือพูดกับเราให้เล่าเรื่องใหม่ ในโลกเก่าที่ถูกขับเคลื่อนด้วยเรื่องเล่าทางการเมืองที่ทรงพลังที่สุดแห่งยุคสมัย เรื่องที่บอกเล่าเรื่องราวของการแข่งขันและความเป็นปัจเจกคือค่านิยมอันสูงสุดของศาสนาทางโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ทุกหนทุกแห่งต่างถูกผลักให้เราต่อสู้เพื่อแย่งชิงทรัพย์สิน เงินทองและตำแหน่งแห่งที่ทางสังคมไม่ต่างอะไรกับสุนัขจรจัดที่ต้องแย่งกันคุ้ยหาอาหารจากกองขยะ

สัญญาเช่าสุดท้าย “ไม่เอา พอแล้ว ห้างเต็มไปหมดแล้ว” บนรอยปริแตกของสามย่าน

Reading Time: 3 minutesปรากฎการณ์ Gentrification ที่แทนที่ไลฟ์สไตล์ของคนจนเมืองในที่ดินจุฬาด้วยกลิ่นของผู้มากรากดี รุนแรงถึงขั้นล้มศรัทธาของชุมชนที่มีต่อศาลเจ้าแม่ทับทิบด้วยคอนโด

ปริศนาความรุนแรงโดยรัฐไทย (ตอนที่ 2)

Reading Time: 2 minutesในความเคลื่อนไหว รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ นับตั้งแต่เกิดวิกฤตการเมืองในสังคมไทยตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา การชุมนุมของประชาชนบนท้องถนนกลายเป็นปรากฏการณ์ปรกติของสังคมไทย ในด้านดีการชุมนุมแสดงออกทางการเมืองของประชาชนถือเป็นชีพจรที่เข้มแข็งของประชาธิปไตย เพราะสะท้อนถึงความตื่นตัวของประชาชนที่ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางบ้านเมือง และยังสะท้อนถึงความเป็นพลเมืองที่แข็งขัน อันเป็นหัวใจของสังคมการเมืองแบบประชาธิปไตย สิ่งที่น่าเสียดายและยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังในสังคมไทย คือ ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในห้วงสถานการณ์การชุมนุมของประชาชน ซึ่งมีทั้งรูปแบบที่เป็นการปะทะกันระหว่างขบวนการประชาชนต่างอุดมการณ์ และความรุนแรงจากรัฐ โดยจากสถิติในช่วงเกือบ 2 ทศวรรษที่ผ่านมาพบว่าความรุนแรงทางการเมืองที่นำไปสู่การบาดเจ็บสูญเสียของชีวิตผู้คนมากที่สุด คือ ความรุนแรงโดยรัฐในการการสลายการชุมนุมของประชาชน (state repression) บทความในตอนที่แล้ว ผมชี้ให้เห็นว่าปัจจัยเรื่องระบอบการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับกองทัพ (รวมถึงกลไกด้านความมั่นคงทั้งหลาย) เป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดแบบแผนและระดับความรุนแรงโดยรัฐในสังคมไทย แต่ข้อค้นพบอีกประการจากงานวิจัยพบว่ามุมมองของรัฐต่อผู้ชุมนุมทั้งระดับผู้วางแนวนโยบายและระดับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ส่งผลสำคัญต่อระดับความรุนแรงของรัฐที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งมุมมองของรัฐต่อผู้ชุมนุมถูกกำหนดมาจากยุทธวิธีการเคลื่อนไหวและแนวคิดของผู้ชุมนุมแต่ละกลุ่มที่แตกต่างกันไป ฉะนั้นการพิจารณามุมมองของรัฐ จึงแยกไม่ออกจากการวิเคราะห์ทำความเข้าใจวิธีการเคลื่อนไหว และอุดมการณ์ทางการเมืองของขบวนการประชาชน สันติวิธี-รุนแรง ผู้มีอำนาจรัฐและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบดูแลการชุมนุมมองผู้ชุมนุมแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน จากการรวบรวมข้อมูลเอกสารและการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่รัฐ พบว่ารัฐมีวิธีคิดในการแบ่งประเภทผู้ชุมนุมกลุ่มต่าง ๆ ออกเป็น 2 ประเภทหลัก โดยใช้เกณฑ์ 2 ประการด้วยกัน คือ หนึ่ง พิจารณาว่าวิธีการเคลื่อนไหวว่าเป็นแบบแนวทางสันติหรือมีแนวโน้มใช้ความรุนแรง และสอง อุดมการณ์หรือเนื้อหาของข้อเรียกร้องว่าเป็นเรื่องปากท้องหรือเรื่อง “การเมือง” และในกลุ่มที่เป็นการเมืองก็ยังพิจารณาต่อไปว่าเป็นการเมืองที่มีเป้าหมายมุ่งไปที่การประท้วงรัฐบาล หรือมีเป้าหมายเปลี่ยนโครงสร้างอำนาจและท้าทายไปถึงสถาบันทางการเมืองที่สำคัญสูงสุดต่อชาติและความเป็นไทยซึ่งเจ้าหน้าที่รัฐเน้นไปที่สถาบันกษัตริย์ แน่นอนว่าการแบ่งประเภทผู้ชุมนุมของเจ้าหน้าที่รัฐเช่นนี้เป็นการแบ่งโดยใช้คำว่า “การเมือง” ในความหมายแคบ […]

ปริศนาความรุนแรงโดยรัฐไทย (ตอนที่ 1)

Reading Time: 2 minutesรัฐบาลแต่ละยุครับมือกับการแสดงออกทางการเมืองของประชาชนด้วยแนวทางและระดับความเข้มข้นที่ต่างกันออกไป มีทั้งการใช้มาตรการทางกฎหมาย การเจรจา การหาทางออกผ่านกระบวนการทางการเมือง รวมถึงการใช้ความรุนแรงอย่างเด็ดขาดในการสลายการชุมนุม ซึ่งส่งผลให้เกิดความสูญเสียต่อทรัพย์สิน ร่างกาย และชีวิตของประชาชน

ค่ายนรกในซินเจียงอุยกูร์

Reading Time: 2 minutesย ซึ่งหลายคนล้วนเป็นผู้สูงอายุ ไม่สามารถสื่อสารภาษาจีน และนับถือศาสนาอิสลาม เวร่าเอาแต่นึกว่า “ฉันรักประเทศชาติไม่มากพอไม่ได้ช่วยเหลือพรรครัฐบาลและประเทศชาติ แต่นี่ไม่ใช่ความผิดของฉัน มันเกิดจากความกลัวอิสลามที่แพร่กระจายและเพ่งเล็งมาที่ฉัน

2 ปีไม่พบผู้ก่อเหตุสังหาร ‘มานะ หงษ์ทอง’ แต่พบกล้องวงจรปิดในที่เกิดเหตุ 13 ตัว

Reading Time: 4 minutesลงพื้นที่สอบสวนในทันทีเมื่อทราบข้อมูล และพบว่าพื้นที่ดังกล่าวที่มานะ หงษ์ทองถูกยิง มีกล้องวงจรปิดทั้งหมด 13 ตัว ในระยะโดยรอบไม่เกิน 20 ก้าวเดิน จุดที่มานะหงษ์ ทองถูกยิงเป็นบริเวณริมถนน ไม่มีมุมอับ มีแสงไฟชัดเจน ทั้งในช่วงเวลาดังกล่าวก็มีเพียงตำรวจ คฝ. ที่ควบคุมพื้นที่อย่างเบ็ดเสร็จ เป็นไปได้อย่างไรกัน? ที่ไม่สามารถหาหลักฐานหาตัวผู้ก่อเหตุได้ 

1 59 60 61 62 63 204

GRID • CAPTION

GRID • CARD • HIDE SUMMARY

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Play Read

Sex education for parents : คุยเรื่อง Sex กับลูก ไม่ใช่แค่เรื่องการมีเพศสัมพันธ์

Reading Time: 2 minutesจริง ๆ แล้วคนที่ควรสอนเรื่องนี้กับเรามากที่สุด คือคนในครอบครัว แล้วต้องมีลูกก่อนหรือเปล่าถึงจะหยิบหนังสือเล่มนี้มาอ่านได้ แต่เราอยากจะบอกกับทุกคนว่า ไม่ต้องมีลูกก็อ่านหนังสือเล่มนี้ได้  เพราะเรื่อง Sex เป็นเรื่องใกล้ตัวของทุกคน Sex ไม่ใช่แค่เรื่องการมีเพศสัมพันธ์ อ่าน ๆ ไปก็เกิดคำถามว่า…ทำไมเรื่องนี้เราไม่เคยรู้มาก่อนเลยนะ ทำไมไม่มีใครมาบอก หรือมาสอน

จิรภา ประทุมมินทร์
Columnist,Journalism

สังคมจมดราม่าหรือทฤษฎีสมคบคิด ‘เจ้าหญิงเคท’ เมื่อภาพก็ใช้ยืนยันไม่ได้

Reading Time: 4 minutesมีคำถามหนักขึ้นว่า ตกลงเจ้าหญิงเคทเธออยู่ไหนกันแน่ บ้างถามถึงขนาดว่ายังทรงมีชีวิตอยู่หรือไม่ มีบ้างที่สงสัยว่าการผ่าตัดอาจไม่ได้ผลหรือไม่ก็มีโรคที่ร้ายแรงมากกว่าที่เปิดเผยออกมา มีคนถามไปถึงการถูกทำร้ายร่างกายหรือถูกกักบริเวณก็มี รวมไปถึงที่ว่าหลบซ่อนตัวด้วย คือโลกโซเชียลนั้นเหมือนจะพร้อมจะเป็นแหล่งบ่มเพาะทฤษฎีสมคบคิดตลอดเวลา

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Environment

ขนย้ายกากอุตสาหกรรมอะลูมิเนียมดรอส 7,000 ตัน 9 เดือน หลังไฟไหม้วินโพรเสสฯ ระยอง

Reading Time: 3 minutesขนย้ายกากอุตสาหกรรมอะลูมิเนียมดรอส 7,000 ตัน 9 เดือน หลังไฟไหม้วินโพรเสสฯ ระยอง มีความหวังแต่ยังกังวล บนผืนดิน สายน้ำและอากาศที่ปนเปื้อนกากอุตสาหกรรมของชาวหนองพะวา

นทธร เกตุชู
Columnist,Crack Politics

อภิสิทธิ์ชนจะละอายในคำสัญญา

Reading Time: < 1 minuteสิ่งที่เราจำเป็นต้องทำก็คือไม่ต้องเป็นติ่ง ไม่ต้องแบก ไม่ต้องไปคิดถึงเรื่องยุทธศาสตร์อะไรต่าง ๆ แต่ให้พูดอย่างตรงไปตรงมาว่าเราต้องการอะไร ต้องการเมื่อไหร่

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

GRID • CONTENT

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

เล่าเรื่องเรา-รับฟังเรื่องเขา: Human Library ห้องสมุดมีชีวิตที่อาจเป็นพื้นที่เยียวยาหัวใจกันและกัน

Reading Time: 3 minutes“ผ่านเรื่องนั้นมาได้อย่างไร?” “แม้ว่าทุกชีวิตจะผ่านความยากมาเหมือนๆ กัน แต่เราก็ยังอยากเรียนรู้ว่า เขาผ่านจุดนั้นมาได้อย่างไร นี่คือการเห็นความเชื่อมโยงของความเป็นมนุษย์ซึ่งกันและกันนะ” มันเป็นคำถามที่นักอ่านถามคนตรงหน้าในฐานะ “หนังสือมีชีวิต” ระหว่างกิจกรรม Human Library หรือห้องสมุดมนุษย์ ของโครงการธนาคารจิตอาสา และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ (สสส.) 

แฟนพันธุ์แท้ ‘ระบบสุริยะ’

Reading Time: < 1 minuteเด็กผู้ชายตัวเล็กอายุ 13 ปี ที่เคยเปิดตัวในรายการแฟนพันธุ์แท้ ตอน ระบบสุริยะในปี 2014 ได้เติบโตขึ้นมาเป็นนักสร้างเนื้อหาหรือคอนเทนต์ครีเอเตอร์ (Content Creator) อายุ 20 ต้น ๆ ในนาม KornKT หรือที่รู้จักอย่างเป็นทางการในชื่อกรทอง วิริยะเศวตกุล 

คิสซิงเจอร์ในความทรงจำของอินเดีย

Reading Time: 2 minutesอาจจะเป็นเพราะคิสซิงเจอร์เป็นคนแรกที่ดำรงตำแหน่งทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและที่ปรึกษาความมั่นคงแห่งชาติ และได้กำหนดนโยบายการต่างประเทศและความมั่นคงของสหรัฐฯ ในช่วงสำคัญของสงครามเย็นเลยก็ว่าได้

MIX

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Columnist,Human & Society,Young Spirit

กาลครั้งหนึ่ง…พระเคยเป็นยิ่งกว่าเพื่อน

Reading Time: < 1 minuteวีรพร นิติประภา ชวนสำรวจฉากใหม่ของพระสงฆ์และพุทธไทย การมีอยู่ของพระในฐานะอวตาร ภาษาเทพ และเซฟเฮาส์ผ้าเหลือง ในกาลครั้งหนึ่ง … ที่พระเคยเป็นยิ่งกว่าเพื่อน

วีรพร นิติประภา

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

DON’T PANIC

Reading Time: 3 minutes“ชีวิตหนอชีวิต ช่วงนี้ช่างลำบากยากเข็ญเสียเหลือเกิน” เขาพึมพำกับตัวเอง บางขณะฉันคิดว่าเขากำลังพูดและรู้สึกแทนเราที่รอด แต่ก็ไม่ได้ชนะในระบบเลยสักครั้ง

Family Zone จูงมือมาม็อบ

Reading Time: 2 minutesFamily Zone จูงมือมาม็อบ ปรากฏการณ์ทลายความกลัวของคนต่างวัยในครอบครัว บ้างเห็นต่าง/บ้างเห็นร่วม แต่การชุมนุมรอบนี้ เราเห็นหนุ่มสาว จูงมือพ่อแม่ในวัยทำงานตอนปลาย มาร่วมฟังประเด็นปราศรัยถึงท้องสนามหลวง

#มหาลัยมีไว้ทำไม ว่าด้วยเรื่องบทบาท’มหาลัย’ ในการเคลื่อนไหวของนักศึกษา

Reading Time: 3 minutesDecode จึงชวน ผศ. ดร. ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาร่วมถอดรหัสหน้าที่ของมหาวิทยาลัยในวันที่นักศึกษาลุกมาเคลื่อนไหว โดยเริ่มต้นตั้งแต่การวิเคราะห์ตัวละครนักศึกษาในขบวนการที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งความคิดตั้งต้นและการสื่อสารที่เลือกใช้ ไปจนถึงร่วมมองหาแนวทางที่มหาวิทยาลัยควรทำเพื่อรักษาไว้ซึ่งสิทธิและเสรีภาพอย่างแท้จริง

เหตุผลของการมีอยู่ของผีสางเทวดา ความมั่นคงในชีวิตที่ยังตามหลอกหลอน

Reading Time: 3 minutesสังคมจะนับถือผีจนถึงระดับเป็นรากทางสังคม แต่ความเชื่อเรื่องผีกลับถูกปฏิเสธอย่างเคร่งครัด De/code ชวน ธีระนันท์ วิชัยดิษฐ คุยเหตุผลของการมีผีอยู่

SLIDER • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Interviews

มีลูกในประเทศที่แม่ ‘ลาคลอด’ ไม่ใช่เรื่องชิลล์ ๆ

Reading Time: 3 minutesลาคลอด 180 วัน ไม่เป็นธรรมต่อคนอื่นและผู้ประกอบการเอาเสียเลย? De/code ยกโทรศัพท์โทรหา หมอดาว เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นสิทธิลาคลอดที่ย้ำเตือนว่า ขณะที่สังคมหันมาถกเถียงกันเองนั้น ก็ได้เปิดช่องให้ระบบที่มีอำนาจอย่างรัฐ ทุนนิยม และปิตาธิปไตยลอยตัวเหนือปัญหาที่ตนก่อเสมอมา

SLIDER • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Columnist

คิมจียอง เกิดปี 82: อะไรคือดอกผลของการเป็นแม่ และผู้หญิงในสังคมชายเป็นใหญ่

Reading Time: 3 minutesกลางดึกเดือน มิ.ย.65 ระหว่างนอนเจ็บท้องคลอดลูกที่โรงพยาบาลคนเดียวนานเกือบ 10 ชั่วโมง ความคิดหนึ่งที่ผุดขึ้นมาในหัวซ้ำๆ และย้ำว่าเออมันจริงๆ นะ คือ “ดีนะที่ลูกเป็นผู้ชาย จะได้ไม่ต้องมาโคตรเจ็บตอนจะคลอดเหมือนเรา” ไม่รู้หรอกว่าความคิดนี้บอกว่าเราเป็นคนยังไง ใช่คนที่โปรความเป็นชายหรือเปล่า เพราะรู้ว่าเป็นผู้ชายแล้วจะได้อะไรบ้าง ไม่ต้องเจออะไรบ้าง หรือจริงๆ แล้วมองเห็นว่าระหว่าง 2 เพศนี้มันมีบางอย่างที่เหลื่อมล้ำ ถูกทำให้ไม่เข้าใจ ถูกด้อยค่า ลดคุณค่ากันอย่างไร

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
Welfare state,Inequality,News

ดรีมทีม HackVax ภารกิจสร้างประสบการณ์ฉีดวัคซีน จากบอสตันถึงโคราช

Reading Time: 2 minutesโคราช (จ.นครราชสีมา) ตั้งเป้าหมายในการกระจายวัคซีนที่รวดเร็ว ปลอดภัย และประทับใจ โดยต้องการฉีดให้ 1 ล้านโดส ภายใน 100 วัน หากทำได้ตามที่วางแผนไว้ โคราชจะเป็นต้นแบบให้อีกหลายจังหวัดได้ดำเนินตาม

ณฐาภพ สังเกตุ
Inequality

Father & Son แค่อยากให้ชีวิตดีกว่านี้

Reading Time: 2 minutesหลายครั้งเมื่อได้นึกถึงพ่อลูกคู่นี้ เพลง Father & Son ของ Cat Stevens ลอยมาแต่ไกล มันให้อารมณ์คล้ายเป็น Soundtrack ประกอบเรื่องราวของชีวิตคู่นี้ เสียงStrumกีต้าร์โปร่ง กับเสียงทุ้มในบางท่อนแทนคำพร่ำบ่นของพ่อ เสียงที่สูงในบางท่อนที่แทนเสียงตัดพ้อต่อว่าของลูกชาย ถึงแม้เนื้อหาของเพลงจะไม่ได้สอดคล้องอะไรนักกับชีวิตคนทั้งสอง แต่ไม่รู้ทำไมสมองผมถึงพยายามจัดยัด 2 สิ่งนี้ให้เข้ากันให้ได้

สิทธิพล ชูประจง
Life Matters,Young Spirit

เพราะความผุพัง ทำให้ ‘เด็ก’ ฆ่าตัวตาย

Reading Time: 2 minutesการฆ่าตัวตายในเด็กเป็นปัญหาที่ต้องการการทำความเข้าใจในมิติที่หลากหลาย  อย่างตั้งใจและจริงและเร่งด่วนยิ่งยวดในการแก้ไข  ไม่ใช่แค่ป้องปราม  …สั่งสอน  ประหนึ่งเด็ก ๆ ไม่รู้ว่าตัวเองกำลังทำอะไร  และที่แย่กว่านั้น  ความคิดเรื่องการฆ่าตัวตายยังติดต่อกันได้เหมือนโรคระบาด 

วีรพร นิติประภา
Human & Society,Life Matters

‘รอยยับ’ ประจักษ์พยานในวัยหนุ่ม

Reading Time: 2 minutesไม่ว่าเราปราณีตกับการใช้ชีวิตมากน้อยแค่ไหน โอกาสที่จะมีข้อบกพร่องย่อมที่จะเกิดขึ้นได้ ไม่ว่าจะด้วยเรื่องใดก็ตาม ถือว่าเป็นเรื่องปกติธรรมดา ทามกลางการใช้ชีวิตในแต่ล่ะช่วงวันวัย ย่อมมีเรื่องที่ไม่ได้ดังใจตัวเองอยู่บ้าง และขัดใจตัวเองกันอยู่บ้างเป็นเรื่องปกติ เขาถึงว่าอย่าไปคาดหวังว่าชีวิตจะปกติราบรื่น เอาแค่ให้มีสติได้รู้ทั่วพร้อมไปทั้งวัน บางครั้งก็แทบจะเป็นไปไม่ได้ บางคนเป็นเช่นนั้นจริงๆ

ประพันธ์ สุนทรฐิติ (ดวงดาวเดียวดาย)

SLIDER TO GRID • CAPTION