
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Interviews
กินแบ่งไม่กินรวบ อุดรูรั่วในถังบ่ม รินรายได้ตลอดซัพพลายเชน
Reading Time: 3 minutesการเดินทางของพ.ร.บ.สุราเสรีไปจนถึงการการจัดงานเบียร์ในไทย ทำอย่างไรให้คนเห็นความสำคัญของเครื่องดื่มคราฟท์มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการพาคนต้นน้ำอย่างเกษตรกรเข้าร่วมขบวนการผลักดัน ในวันที่ข้าว–อ้อย-ผลไม้ไทย สามารถเพิ่มมูลค่าจากหลักร้อยไปเป็นหลักล้าน
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ค้อนเคียวรุ่นสู่รุ่น ปีศาจคอมมิวนิสต์ยังไม่หายไปไหน
Reading Time: 4 minutesชื่อว่า “คอมมิวนิสต์” คงไม่พ้นจากการถูกมองว่าเป็น “ปีศาจ” เสมอมา โดยเฉพาะในสายตาของชนชั้นนำและนายทุน
นาฬิกา ‘เวลาเวิร์ส’ เขย่ารัฐรวมศูนย์ ย้ายเมืองหลวงสตาร์ตอัปสู่มหานครของคนโลคัล
Reading Time: 3 minutesVelaverse โปรเจกต์โลกเสมือนจาก Start up เมืองโคราช ผลกระทบจากโควิด 19 ทำให้กอล์ฟ-มารุต ชุ่มขุนทด ได้เห็นถึงโอกาสในการอุดรอยรั่วของชุมชน ด้วยการกระจายอำนาจและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ที่จะช่วยลดช่องว่างของความเจริญที่กระจุกอยู่แค่เมืองหลวง
Welcome to Consent เพราะคำว่า ‘ไม่’ ก็สวยงามไม่แพ้กัน
Reading Time: 3 minutesทำความรู้จักกับร้อยวิธีตอบตกลง พันวิธีบอกปฏิเสธ ด้วยฐานของเพื่อนเก่าที่เราไม่ค่อยพูดถึงอย่างตรงไปตรงมาอย่าง ‘ความยินยอม’
GRID • LIST • PAGINATION
อ่านพ่อมดอ๊อด ย้อนดูการเมืองไทย 2566
Reading Time: < 1 minuteอ่านจบผมลองเทียบเคียงบริบทการเมืองไทยในปี 2566 หุ่นไล่กาก็คือชาวนา หรือแรงงานภาคเกษตร แรงงานดั้งเดิมมหาศาลในสังคมไทย แม้แรงงานและมูลค่าภาคเกษตรจะลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันกำลังแรงงานภาคเกษตรอยู่ที่ ประมาณ 12 ล้านคน จากกำลังแรงงาน 38 ล้านคน แม้สัดส่วนจะลดลงแต่ก็ยังเป็นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 30 หุ่นไล่กาที่ตามหาสมอง กับ เด็กผู้หญิงตัวน้อย เมื่อมองย้อนในบริบทการเมืองไทย การที่แรงงานภาคเกษตรจำนวนมหาศาลไม่สามารถที่จะรวมตัวต่อรองได้ ใช้ชีวิตกระจัดกระจาย ตามแต่ที่นโยบายรัฐและกลุ่มทุนจะโยนมาให้ ไม่ว่าจะเป็นนโยบายสินเชื่อต่าง ๆ ที่ผลักให้เกษตรกรไทย อยู่ในกับดักหนี้ หนี้ทับหนี้ วนไป ทำให้พลังมหาศาลของแรงงานภาคเกษตรหายไป และถูกควบคุมโดยกลุ่มทุนผ่านเงื่อนไขต่าง ๆ ไม่เห็นอดีต ไม่เห็นปัจจุบัน ไม่มีอนาคต เหมือน “หุ่นไล่กา” ที่ทำงานซ้ำเดิม ไม่มีชีวิตชีวา เป็นร้อยเป็นพันปีไม่มีใครสนใจ
ไฟป่าและฝุ่นควัน PM2.5 ในโลกที่ไม่เหมือนเดิม
Reading Time: < 1 minuteเรากำลังอยู่ในสงคราม (กับไฟป่า) สองสามสัปดาห์จากนี้เราต้องเฝ้าระวังอย่างเต็มที่ วิกฤติด้านสภาพภูมิอากาศอยู่ตรงหน้าเราแล้ว และมันจะส่งผลกระทบไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียน ด้วยภัยพิบัติที่รุนแรงยิ่งกว่านี้
ไขข้อข้องใจ ในวันที่อะไร ๆ ก็เรียกว่า…”Soft power”
Reading Time: < 1 minuteผลงานของนักศึกษาฝึกงานดีโคตร ๆ รุ่น 1 กีรติกา อติบูรณกุล
“ซอฟท์พาวเวอร์” คำที่หลายคนเคยได้ยิน แต่หลายครั้งกลับยังไม่เข้าใจ🤔 ถ้าในเมื่ออะไร ๆ ก็สามารถเรียกว่าซอฟท์พาวเวอร์ได้ ทำไมค่านิยมแบบไทย ๆ ยังไปไม่ไกลสู่สายตาโลก
‘ผ้าอนามัย’ ปราการสุดท้ายแห่งความเท่าเทียม
Reading Time: < 1 minuteความสามารถที่ผู้หญิงถูกผลักให้ต้องรับภาระนั่นแอง ที่กลายมาเป็นจุดเริ่มต้นของการตระหนักในความสามารถที่เท่าเทียม และก่อเกิดขบวนการเรียกร้องสิทธิสตรี
โปรดจำไว้ว่าเธอเกิดมาด้วยความรัก
Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 28 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus
‘เดอะแบก’ ตลอดชีพ แม้เกษียณยังไม่เกษม
Reading Time: 3 minutesประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างเต็มขั้น ทว่าคุณภาพชีวิตของเขายังถูกฉุดรั้งไว้ด้วยนโยบายรัฐไทย ลุกลามไปจนเป็นบ่วงพันธนาการรั้งคนหนุ่มสาวเอาไว้ไม่ให้ไปไหน
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
16 ชม./วัน ‘มันไม่ปกติ’ สวัสดิการบุคลากรสาธารณสุขดีกว่านี้ได้
Reading Time: < 1 minuteบุคลากรด้านการแพทย์ แพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล นักเทคนิคการแพทย์ ฯลฯ ในไทยอาจทำงานสูงสุดถึง 16 ชั่วโมงต่อวัน หรืออาจสูงถึง สัปดาห์ละ 100 ชั่วโมง
ห้องเรียนของ“หน้าที่” แต่ไม่มี “สิทธิ” ของพลเมือง
Reading Time: 2 minutesเวทีเสวนา “พลเมือง ประชาธิปไตย และความเป็นธรรมทางสังคม” ที่จัดขึ้นกลางเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา นิ้ง-ธญานี เจริญกูล กลุ่มนักเรียนเลว และ มายมิ้น-ศุกรียา วรรณายุวัฒน์ นิสิตคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตอบเปิดเวทีในทิศทางเดียวกันว่า ความเป็นธรรมคือการที่ทุกคนมีสิทธิ์เท่ากัน ขณะเดียวกันก็ได้รับการคุ้มครองสิทธิ์นั้นเช่นกัน ทั้งสองร่วมเวทีท่ามกลาง “ครู” ในโรงเรียน และมหาวิทยาลัย
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อสว.ไทย และการสงวนไว้สำหรับชนชั้นนำ
Reading Time: < 1 minuteกติกาการคัดเลือกที่ซับซ้อนเข้าใจยากและกีดกันประชาชนส่วนใหญ่ออกไปจากกระบวนการสะท้อนเจตนาของผู้ร่างรัฐธรรมนูญ 2560 ที่ต้องการลดทอนอำนาจของประชาชนในการกำหนดว่าใครควรจะได้เป็นวุฒิสมาชิก ซึ่งสะท้อนอย่างชัดเจนว่าชนชั้นนำอนุรักษนิยมยังคงต้องการสงวนเวทีวุฒิสภาไว้ให้เป็นกลไกค้ำจุนอำนาจของตน
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
คือยุคสมัยแห่งความเลวร้าย ความหวังสุดท้ายอยู่ที่คนรุ่นใหม่: ถาม-ตอบ ทางออกประเทศ กับ ส. ศิวรักษ์
Reading Time: 2 minutesDe/code ชวน ‘ส. ศิวรักษ์’ นักคิด นักเขียน เจ้าของฉายา ‘ปัญญาชนสยาม’ สนทนาหาทางออกให้ประเทศ ที่เสนอว่าไม่ใช่แค่ ‘ไล่’ กัปตันเรือ แต่ต้อง ‘รื้อ’ ทิ้งทั้งรัฐบาล พร้อมเน้นย้ำว่าทำเช่นนั้นได้ความหวังสุดท้ายอยู่ที่คนรุ่นใหม่ ซึ่งเติบโตมาอย่างตาสว่างด้วย ‘ความรู้’ และ ‘ความจริง’ จากสื่อกระแสรอง
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
sie / เธอ / ผู้หยัดยืน
Reading Time: 2 minutesสำหรับผู้หญิงแล้ว ถ้อยคำ คืออารยะขัดขืนมันได้กลายเป็นศัตรูของความกลัวที่เอาไว้ต่อสู้กับพวกเผด็จการ ทำให้ภาษาเป็นอาวุธและการประกาศสงครามทั่วทั้งหุบ หยัดยืน หรือ ‘Resto Qui’ นวนิยายลำดับ 4 ของ Marco Balzano นักเขียนชาวอิตาลี สนใจในรสแห่งถ้อยคำ เพราะเหมือนเป็นจุดเริ่มของประวัติศาสตร์ มันเป็นหน้าหนึ่งในประวัติศาสตร์อิตาลีที่ไม่เพียงขมขื่นแต่เปิดประเด็นให้ผู้อ่านฉุกคิดและตั้งคำถาม อย่างน้อยก็เรื่องคนงาน 26 คนที่ตายระหว่างการทำงาน
6 ตุลาฯ กวางจู ยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน
Reading Time: < 1 minuteทุกประเทศต่างมีประวัติศาสตร์บาดแผลแต่รัฐไทยเลือกที่จะลบเลือนหลบเลี่ยงอดีต ไม่แสวงหาทั้งความจริงและความยุติธรรม ในขณะที่เกาหลีใต้ เลือกที่จะเผชิญหน้ากับความจริง
คิสซิงเจอร์ในความทรงจำของอินเดีย
Reading Time: 2 minutesอาจจะเป็นเพราะคิสซิงเจอร์เป็นคนแรกที่ดำรงตำแหน่งทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและที่ปรึกษาความมั่นคงแห่งชาติ และได้กำหนดนโยบายการต่างประเทศและความมั่นคงของสหรัฐฯ ในช่วงสำคัญของสงครามเย็นเลยก็ว่าได้
อ่านประวัติศาสตร์และการเมืองไทยปี 2566 ผ่านหนังสือ 10 เล่ม
Reading Time: 4 minutesมีหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของประชาชนครั้งประวัติศาสตร์นี้ออกมาหลายเล่ม ในขณะที่หนังสือที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของกองทัพ และประวัติศาสตร์สยามช่วงรอยต่อของการเปลี่ยนผ่านจากรัฐสมัยเก่าสู่รัฐชาติและความทันสมัยก็ถือเป็นธีมที่โดดเด่นของวงการหนังสือประวัติศาสตร์สังคมการเมืองในปีนี้