จิรภา ประทุมมินทร์, Author at Decode - Page 2 of 2
Play Read

หมดเมนส์แล้วเป็นไง

Reading Time: 2 minutes ทำความเข้าใจกับ “วัยหมดประจำเดือน” คำนี้มักถูกผู้คนในสังคมปิตาธิปไตย นำมาด้อยค่า ว่าผู้หญิงที่เข้าสู่ช่วงวัยนี้เป็นคนไร้ค่า ไร้ประสิทธิภาพ (ในแง่ของสภาพร่างกาย และการมีเพศสัมพันธ์) ถูกมองว่าเป็นโรคที่เกิดจากความอ่อนแอของผู้หญิงและรังไข่ของผู้หญิง แต่การเข้าใจแบบนี้ก็เพราะว่าผู้ชายไม่ได้มีรังไข่แบบเพศหญิง วัยหมดประจำเดือนไม่ได้ทำให้ถูกพูดในชีวิตประจำวันจึงทำให้ผู้หญิงไม่มีข้อมูลในเรื่องนี้ และอาจทำให้รู้สึกกลัว จนไม่กล้าพูดถึง

จิรภา ประทุมมินทร์

ความไม่แน่นอน = ความไม่แน่นอน

Reading Time: 2 minutes เลือก Same as Ever จิตวิทยาเอาชนะอนาคต ไม่ใช่เพราะอยากจะเอาชนะอนาคต แต่เลือกเพราะคำโปรยปกหลังหนังสือ “การทำนายอนาคตเป็นเรื่องยาก เหตุการณ์สำคัญที่เปลี่ยนอนาคตมักทำนายล่วงหน้าไม่ได้ ดังนั้น เราควรจะตั้งคำถามใหม่ดีกว่าว่าอะไรจะยังคงเหมือนเดิมในอีกสิบปีข้างหน้า…”

จิรภา ประทุมมินทร์
จิรภา ประทุมมินทร์

ต่างจังหวัด : อำนาจและการควบคุม

Reading Time: 2 minutes ท้องถิ่นจะถูกมองให้เป็นอะไรที่หยุดนิ่ง ทั้งที่จริง ๆ แล้วในท้องถิ่นแต่ละพื้นที่ก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา หากมีการกระจายอำนาจก็จะทำให้แต่ละพื้นที่สามารถดูแล จัดการ บริหารแต่ละภาคส่วนด้วยตนเองได้ 

จิรภา ประทุมมินทร์
จิรภา ประทุมมินทร์

ถึงมนุษย์แรงงานทุกคน เพราะบนโลกใบนี้ไม่มีงานง่าย

Reading Time: 2 minutes ถ้างานมันจะง่ายแบบนั้น แล้วหนังสือเล่มนี้จะชื่อ บนโลกใบนี้ไม่มีงานง่าย ได้อย่างไร

จิรภา ประทุมมินทร์
จิรภา ประทุมมินทร์

Conversations on Love : บทสนทนาของความรัก

Reading Time: 2 minutes เราได้เรียนเศรษฐศาสตร์ ไวยากรณ์ ภูมิศาสตร์ และอื่น ๆ อีกมากมาย
แต่ทำไมไม่มีวิชาที่สอนเกี่ยวกับความรัก
ทั้งที่มันส่งผลกระทบต่อชีวิตคนเรามหาศาล

จิรภา ประทุมมินทร์
จิรภา ประทุมมินทร์

ทำอะไรสักอย่างที่ตรงข้ามกับลิงในสมอง

Reading Time: 2 minutes ในสมองของคนจะมี “ศูนย์กำกับความกลัว” อยู่ อะมิกดาลา ที่อยู่ในศูนย์นั้นจะเป็นด่านที่ทุกการกระทำของเราที่เราได้กลิ่น ได้ยิน สัมผัส หรือนึกคิด จะผ่านด่านนี้ ซึ่งเมื่ออะมิกดาลาจับได้ว่ามีภัยคุกคาม ก็จะส่งสัญญาณไปยัง ไฮโปธาลามัส และต่อมหมวกไต ซึ่งจะปล่อยฮอร์โมนและสัญญาณทางสมองไปยังระบบประสาทซิมพาเธติก เพื่อทำให้หัวใจเต้นเร็ว และหายใจแรงขึ้น ซึ่งกลไกเหล่านี้ ก็เพื่อทำให้ร่างกายเข้าสู่ภาวะเอาตัวรอด

จิรภา ประทุมมินทร์