Home - Decode

YOU ARE WHAT YOU READ
Lorem ipsum dolor sit amet.

Play Read

(หลัง) บอลไทยได้ไปบอลโลก

Reading Time: 4 minutesทุก ๆ 4 ปี จะมี 2 ปรากฏการณ์ที่ทำให้คนไทยเห็นต่าง และเห็นพ้องต้องกันพร้อม ๆ กัน
หนึ่งคือการเลือกตั้ง สองคือฟุตบอลโลก
อาจเพราะฟุตบอลไม่ได้เล่นแค่ในสนามหญ้าขนาด 9,576 ตารางเมตร แต่อาจหมายถึงจังหวะเขี่ยบอลเปิดเกม ไปจนถึงจุดโทษของเกมฟุตบอลในระบบโครงสร้างของสังคม การสนับสนุนของรัฐ และรากฐานของประวัติศาสตร์ฟุตบอลไทย

นทธร เกตุชู
Futurism,Education,News

เล่นแร่แปรธาตุ ‘มหาลัย’ สู่ ‘บรรษัททางการศึกษา’ ที่ไร้เสรีภาพ

Reading Time: 3 minutesผลกระทบของรัฐประหารที่ไม่ใช่แค่สั่นคลอนต่อระบอบการเมือง แต่ยังรวมไปถึงการอุดมศึกษา ที่รัฐประหารเป็นช่วงเวลาสำคัญในการออกนอกระบบของมหาวิทยาลัย เปิดช่องทางให้ ‘อำนาจการเมืองและทุน’ เข้ามากำกับคุณค่า การเป็นที่รับรู้ของสถาบันอุดมศึกษา ในขณะเดียวกันความพยายามนี้ ก็มีเสียงสะท้อนจากภายในและภายนอกระบบ ว่าการอุดมศึกษาไทย ซุกปัญหา “ทุน” และ “อำนาจ” ไว้ใต้พรม รายงาน Failed University ที่แปลว่า มหาวิทยาลัยที่ล้มเหลว จากข้อเสนอของ ร.ศ. ดร. พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และนักวิชาการร่วมจัดทำรายงานรวบรวมปัญหาภายในอุดมศึกษา ของความพยายามนำตัวเลขการจัดอันดับแรงก์กิ้งมาเป็นตัววัดผลสำเร็จทางการศึกษา ละทิ้งการพัฒนาผู้เรียนผ่านการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย ไม่ส่งเสริมนักวิชาการให้ปฏิบัติหน้าที่ผลิตงานวิจัยสร้างสรรค์ สะท้อนคำขยายของรายงานที่ว่าด้วย ‘อำนาจที่ไร้เป้าหมาย เกียรติยศที่ไร้ความก้าวหน้า’ ซึ่ง รศ. สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หยิบยกรายงานมาขยายสภาวะระบบการเมือง ‘บ้านใหญ่’ ของสภามหาวิทยาลัยที่ชัดเจนหลังจากมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ ใช้ตำแหน่งเก้าอี้ภายในสภาเพื่อกอบโกยผลประโยชน์ส่วนตัว ผลัดกันรับตำแหน่ง มีฐานเสียงโดยไม่จำเป็นต้องสนใจกับกระแสทิศทางความเห็นภายนอก  ในฐานะผู้สอนสาขานิติศาสตร์ รศ. สมชาย ยกตัวอย่างถึงความบิดเบี้ยวของกระบวนการยุติธรรมไทย ที่ไม่เคยเห็นจุดยืนจากสำนักสาขานิติศาสตร์ ออกมาโต้แย้งจากความเห็นเชิงสถาบัน ทำให้เสียงของการโต้แย้งเป็นเพียงปัจเจก ไม่มีการระบุสังกัดเพราะถูกห้ามไม่ให้พูดถึง เสรีภาพการแสดงออกจึงเกิดขึ้นตราบที่ไม่กระทบกับอำนาจรัฐ ทั้งที่สิ่งเหล่านี้ […]

ณัฐณิชา มีนาภา
Crack Politics

การเมืองตีบตัน ฝุ่นตลบ! ไม่มีฉากจบความขัดแย้งรอบใหม่

Reading Time: 3 minutes‘ประจักษ์ ก้องกีรติ’ มองข้ามช็อตการเมืองไทยฝุ่นตลบ แม้จะมีการเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรีก็เป็นเพียงการยืดเวลาของความขัดแย้งที่ไม่มีทางออกนี้ให้ทอดยาวออกไป

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Environment,Human Rights

โกดังไทยอำพราง Made by China ที่ยกกระบัตร มลพิษข้ามชาติที่รัฐไทยเพิกเฉย ‘ผิดเพี้ยนและผุพัง’

Reading Time: 9 minutesเศษซากไฟไหม้โกดังที่ 8 ของโกดังในซอยคลองเจ๊ก ต.ยกกระบัตร อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร ตั้งแต่ปลายเดือนมกราคม 2568 ไม่ได้ทิ้งร่องรอยไว้แค่หลังคาสังกะสีและอาคารสีดำไหม้ที่พบเครื่องจักรและกากอุตสาหกรรมหลายประเภทไว้ข้างใน
แต่ไฟไหม้ครั้งนี้ ยังทำให้เห็นว่าแท้จริงแล้วข้างใน ‘ประกอบกิจการ’ ที่อันตรายเพียงใด ขณะเดียวกันยังค้นพบถึงกระบวนการอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมที่ผิดกฎหมายหลายประการ

นทธร เกตุชู
Crack Politics

ปลุกผี ‘ชาตินิยม’ ย้อนดูบทเรียนปัญหาสามจังหวัดชายแดนใต้

Reading Time: 3 minutesขยายประเด็น นวลน้อย ธรรมเสถียร ปฏิกิริยาต่อปัญหาชายแดนไทยกับกัมพูชาหนนี้ ทำให้เห็นชัดอย่างหนึ่งว่า กระแสชาตินิยมไทยนั้นปลุกได้ง่ายมาก  เราได้เห็นท่วงทำนองชาตินิยมที่ประกอบไปด้วยการทวงบุญทวงคุณ การตำหนิว่า เขมรแอบอ้างสมบัติ หรือมรดกทางวัฒนธรรม การปลุกประเด็นทวงคืนพื้นที่บางแห่ง การสนับสนุนการใช้กำลังตัดสินปัญหา และแน่นอนว่าเราได้เห็นความพยายามที่จะทำให้เสียงที่ “เห็นต่าง” เงียบลง บางทีด้วยการข่มขู่ บางครั้งด้วยความหยาบคาย ด้วยเฮทสปีชที่กำลังกลายเป็นความเคยชินของผู้ใช้โซเชียลไปแล้ว   ชาตินิยมอาจมีข้อดีในยามที่ต้องการการรวมพลังสู้ภัยคุกคาม แต่ถ้าไม่ระวังและปล่อยเลยเถิดมันก็อาจจะกลายเป็นภัยที่กัดกินตัวเอง ยังไม่นับว่ามันอาจทำลายโอกาสในการหาทางออกต่อความขัดแย้งแบบสันติ ผู้เขียนอยากจะเล่าเรื่องของชาตินิยมกับผลกระทบที่ฝากเอาไว้อย่างยาวนานในเรื่องหนึ่ง นั่นคือผลของการใช้แนวทางชาตินิยมที่มีส่วนอย่างสำคัญต่อปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ชาตินิยมที่จับต้องได้ง่ายสำหรับเรา ๆ ท่าน ๆ คือผ่านเสียงเพลง หลายคนคงได้ยินเพลงเก่าที่นำมาร้องกันใหม่หลายเวอร์ชันอย่างเพลง “บ้านเกิดเมืองนอน” เพลงนี้อยู่ในกลุ่มเพลงปลุกใจที่เกิดขึ้นในช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่สองภายใต้อิทธิพลของกระแสชาตินิยมในยุคที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีครั้งแรก เพลงนี้เป็นเพลงของคณะสุนทราภรณ์ซึ่งแปลงร่างมาจากวงโฆษณาการและทำหน้าที่ช่วยแปลงสารด้านนโยบายไปสู่การปลุกใจให้พลเรือนนำไปปฏิบัติตาม “บ้านเกิดเมืองนอน” เป็นเพลงที่ชนะการประกวดเพลงปลุกใจในปี 2488 เนื้อเพลงเรียกเร้าความภาคภูมิใจตั้งแต่คำแรก ๆ “บ้านเมืองเรารุ่งเรืองพร้อมอยู่หมู่เหล่า พวกเราล้วนพงษ์เผ่าศิวิไลซ์ เพราะฉะนั้นชวนกันยินดี เปรมปรีดีใจเรียกตนว่าไทย แดนดินผืนใหญ่มิใช่ทาสเขา”  “ก่อนนี้มีเขตแดนนับว่ากว้างใหญ่ ได้ไว้พลีเลือดเนื้อแลกเอา รบ รบ รบ ไม่หวั่นใคร มอบความเป็นไทยให้พวกเรา แต่ครั้งนานกาลเก่าชาติเราเขาเรียกชาติไทย……”    ต้องขีดเส้นใต้คำว่า คนไทยเป็น […]

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Human & Society,Life Matters,Sustainability

ผำ ไข่น้ำ รูป นาม และความท้าทาย

Reading Time: 3 minutesช่วงราวไม่ถึงสามปีที่ผ่านมา เกิดกระแสสนใจพืชอาหารถิ่นชนิดหนึ่ง ซึ่งเดิมทีก็มีการหาอยู่หากินกันในหมู่ผู้คนในชนบทอยู่แล้ว แต่ความสนใจนั้นดูจะขยายตัวกว้างออกไปยังคนนอกวัฒนธรรมอย่างรวดเร็วราวไฟป่า นั่นก็คือกระแส “ตื่นผำ” ที่ผู้บริโภคชาวไทยหันมาสนใจและพูดถึงพืชลอยน้ำสีเขียวขนาดเล็กจิ๋ว เรียกกันหลายชื่อ ตั้งแต่ผำ (Wolffia) ไข่ผำ ไข่น้ำ ฯลฯ กันมากมายอย่างไม่เคยมีมาก่อน

กฤช เหลือลมัย

JUST WATCH IT
Lorem ipsum dolor

I THINK, THEREFORE I AM