นทธร เกตุชู, Author at Decode - Page 2 of 9
Play Read

‘ชินรินโยกุ’ เหนือชั้นบรรยากาศนั้น ‘เรา’ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของท้องฟ้าและผืนดิน

Reading Time: 3 minutes ชินรินโยกุหรือการอาบป่า ไม่ได้แค่พาให้คนกลับมาหาธรรมชาติ แต่ท่ามกลางการพัฒนา คนที่อาบป่าและตระหนักถึงยูเก็นจึงตั้งคำถามต่อธรรมชาติที่หดหายไป ว่าเราจะกลับมายึดโยงกับธรรมชาติได้อย่างไรถ้าหากวันหนึ่ง ไม่เหลือธรรมชาติให้เรายึดโยงเสียแล้ว

นทธร เกตุชู

Survive แบบใด ‘ไม่มีคำตอบสำเร็จรูป’ ในโลกที่แปรปรวน

Reading Time: 4 minutes ในภาวะที่โลกกำลังหาทาง “รอด” มนุษย์กลับอยู่ใจกลางของเรื่องนี้เพราะ “มันมาถึง” แล้ว และยากจะหนีพ้น และบ่อยครั้งเราก็อาจตกอยู่ในสภาพของผู้ประสบภัยได้โดยง่าย “สัญญาณ”โต้กลับจากธรรมชาติที่ส่งผลต่อเราทุกคน

นทธร เกตุชู
นทธร เกตุชู

‘สิ่งที่เจอ’ ไม่ใช่แค่เกมการเมือง แต่เป็นความรุนแรงต่อผู้หญิง และข่าวลวงบีบบังคับให้ยอม ‘จำนน’

Reading Time: 4 minutes เพราะเป็นหญิงในโลกการเมือง จึงต้องเจ็บปวด?
ทำไมผู้หญิงยังคงเผชิญความท้าทายในด้านต่าง ๆ ทั้งจากบรรทัดฐานของสังคมและการรับรู้ของสังคมที่ยังเห็นพื้นที่การเมืองเป็นพื้นที่ของผู้ชาย หรือเพราะสังคมไทยยังไม่ยอมรับบทบาทที่เท่าเทียมของผู้หญิงในการเป็นผู้นำทางการเมือง
บทบาทของสื่อและความรุนแรงบนโลกออนไลน์ ที่ยังไม่หายไปจากนักการเมืองหญิง
เมื่อความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศ ไม่เพียงส่งผลเสียต่อพรรคการเมืองหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่านั้น แต่ยังรวมถึงคุณภาพของการเลือกตั้งและความเข้มแข็งของระบอบประชาธิปไตยในภาพรวม

นทธร เกตุชู
นทธร เกตุชู

ปริศนาหน้าฟาร์มถึงหน้าเขียง ใครคุมราคาหมู

Reading Time: 7 minutes หลังการแพร่ระบาดของโรค ASF(อหิวาก์ตกโรคหมู) ในปี 2565 และการจับกุมหมูเถื่อนตั้งแต่ 2564-ปัจจุบัน กว่า 5 ล้านตันเป็นอย่างต่ำ จำนวนเกษตรกรที่หดหาย เพราะเสียหายหนักจากโรค ยิ่งโดนกระหน่ำซ้ำด้วยราคาขายที่ต่ำลง ในขณะที่ต้นทุนมีแต่จะแพงขึ้นทุกวัน หมูแพง เป็นเพียงฉากหน้าของการสั่นคลอนความมั่นคงทางอาหารของคนไทย เมื่อ 1 ใน 3 ของเนื้อสัตว์ที่คนไทยบริโภคมากที่สุดกำลังเผชิญปัญหากับการกินรวบที่อาจทำให้คนเลี้ยง คนขาย และคนกิน อาจต้องบริโภคหมูในราคามากกว่า 300 บาทก็เป็นได้ถ้าเรายังรู้ว่าหน้าฟาร์มถึงหน้าเขียง ใคร เป็นคนคุมราคาหมู

นทธร เกตุชู
นทธร เกตุชู

ภัยพิบัติควบคุมบ่ได้ แต่จัดการได้ Better Practice ของวารินชำราบบ้านเฮา

Reading Time: 6 minutes การรับมือภัยพิบัติของวารินชำราบจะมีประชาชนเป็นด้านหน้าก็จริง แต่รัฐเป็นหน่วยสนับสนุนที่รับฟัง และลงมาทำข้อมูลร่วมกับประชาชน ความร่วมมือนี้จะไม่เกิดขึ้นหากเรายังฟังเสียงกันและกันในพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติกันมากพอ และมันอาจไม่ใช่ใครต้องเป็นคนนำหรือคนตาม หัวใจสำคัญของการก้าวข้ามภัยพิบัติคือแต่ละฝ่ายรู้หน้าที่ของตัวเองว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไรเมื่อภัยมา

นทธร เกตุชู
นทธร เกตุชู

วันสุดท้ายของชีวิต เป็นเพียงวันธรรมดาวันหนึ่ง

Reading Time: 3 minutes การเตรียมตัวรับความตายไม่ใช่เรื่องง่าย ซึ่งนั่นทำให้ความตายก็ไม่เคยเป็นเรื่องง่ายมาแต่ต้นเช่นกัน แน่นอนว่ามันไม่ใช่เวลาในหลักวัน เดือน หรือปี แต่อาจเป็นสิบ ๆ ปี เพื่อที่จะให้เราได้สะสางอะไรบางอย่างแต่เปิดพื้นที่รับอะไรบางอย่าง อย่างความตายเข้ามาในชีวิตเช่นกัน

นทธร เกตุชู
นทธร เกตุชู

เมื่อประชาชนคือด่านหน้าของความ(ไม่)มั่นคงทางน้ำและอาหารในภูมิภาคเอเชีย

Reading Time: 4 minutes ประชาชนรากหญ้าคือกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุด เนื่องจากภัยพิบัติมักจะเกิดขึ้นในพื้นที่ของพวกเขา ในขณะเดียวกันรัฐกลับไม่มีมาตรการใด ๆ ในการรับมือกับภูมิอากาศที่ย่ำแย่มากขึ้นทุกวัน

นทธร เกตุชู