Camping2 – Decode

Camping2

Reading Time: < 1 minute

[WP-Coder id=”2″]

แน่นอนว่าเป็นเรื่องผิดปกติมากๆ ที่แผ่นดินไหวซึ่งศูนย์กลางอยู่ห่างออกไปพันกิโลเมตรจะสามารถทำให้อาคารสามสิบชั้นที่โครงสร้างเกือบแล้วเสร็จทลายลงมากองได้  ขณะที่ตึกที่เหลือของกรุงเทพมหานครยังอยู่ดี  มีรอยร้าวและแตกพังบ้างแต่ก็ยังซ่อมแซมได้  คนทั้งประเทศจึงพุ่งความสนใจไปที่บริษัทรับเหมาก่อสร้างซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างไชน่าเรลเวย์นัมเบอร์ 10 กับบ.อิตาเลียนไทยก่อนทันที   
การทำงานควบคุมไฟป่าและหมอกควัน ไม่ได้จบลงจากการทำงานในระดับอาสาสมัคร แต่ยังเกี่ยวเนื่องไปกับการทำงานในระดับภาครัฐ องค์การปกครองท้องถิ่น ที่ประเด็นปัญหาไฟป่าถูกระบุเป็นวาระสำคัญของประเทศ ผ่านงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2568 ที่มติ ค.ร.ม. อุดหนุนงบกลางจำนวน 620,691,360 บาท ตามข้อเสนอของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ให้กับกรมป่าไม้ 187,022,330 บาท และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เสียงอ้อนวอนจากแคมป์คนงานก่อสร้าง ในวันที่คนรักสูญหาย และชีวิตยังไม่รู้จะไปทางไหน ภัยพิบัติที่ไม่ได้พรากแค่ชีวิต แต่สั่นสะเทือนไปถึงสิทธิของแรงงาน
Decode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
De/code ลงพื้นที่ 3 ภูเขา 3 เรื่องราว ถอดบทเรียนเขาคูหา เดินขึ้นเขาโต๊ะกรังความหวังกับคนรุ่นใหม่ และการยืนหยัดต่อสู้ของผู้หญิงตัวคนเดียวเพื่อปกป้องเขาลูกเล็กลูกใหญ่
ภายใต้ตัวละครที่หลากหลายและคิดต่างกัน ทั้งชาวบ้านที่เห็นด้วยกับการสร้างขุดลอกร่องน้ำเพื่อสร้างมารีน่า และชาวบ้านที่กังวลถึงผลกระทบที่จะตามมา กรมเจ้าท่าและหน่วยงานรัฐในพื้นที่ที่มีบทบาทในฐานะผู้เล่น รวมถึงนักวิชาการที่มาร่วมหาทางออกให้กับชุมชน เหตุใด เมื่อเกิดโครงการพัฒนาในพื้นที่ธรรมชาติเหล่านี้ การพัฒนาถึงสวนทางกับการอนุรักษ์เสมอ
De/code นำเอาเรื่องราวการต่อสู้ของชาวบ้านเพื่อปกป้องเขาโต๊ะกรัง มาถ่ายทอดไว้ในบทความชิ้นนี้ และชวนไปสำรวจทรัพยากรที่ล้ำค่าในเขาโต๊ะกรัง
แนวคิดของคาร์บอนเครดิตคือการสร้างแรงจูงใจให้บริษัทเหล่านี้ รับผิดชอบต่อการใช้สอยประโยชน์ทรัพยากรของสาธารณะ หรือเป็นเพียงแค่ช่องโหว่ทางเศรษฐศาสตร์ ที่จะให้นายทุนสามารถปล่อยของเสียต่อไปได้ เพียงแค่ให้ตัวเลขของคาร์บอนเครดิตจากกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละบริษัทเพิ่มมากขึ้น
พวกเขาไม่เคยรู้ว่านิดหน่อยของเขา มันคือทั้งชีวิตของผม
“ไกลแค่ไหนคือใกล้” เมื่อการเปรียบเทียบถึงการตระหนัก-รับรู้ “โลกร้อน” หรือ Climate Change นั้นไม่อาจฟันธงว่าผู้คนรู้สึกแบบใดกันแน่ ไม่อาจชี้ชัดได้ว่าสถานการณ์ตรงหน้ามันคืบคลานใกล้ตัวเราเข้ามาทุกที...ทุกทีแล้วจริง ๆ
“ถ้าเหมืองมันเกิด มีหลุมขนาดใหญ่ มีเสียงระเบิดวันละ 2 ครั้ง ฝุ่นฟุ้งกระจาย น้ำใช้ไม่ได้ พืชพรรณอาบไปด้วยฝุ่นจากเหมือง น้ำกินไม่ได้ ใช้ไม่ได้ หายใจก็ปเปื้อนฝุ่นละออง พวกโลหะหนักในอากาศ “มันอยู่ไม่ได้”
11 พฤศจิกายน 2562...เปิดฉากการต่อสู้กรณีเหมืองอมก๋อยกับการเข้ารับฟังข้อกล่าวหาของ 2 นักต่อสู้รุ่นใหม่ในพื้นที่อย่างพี่โจและพี่เบิ้ม ณ สถานีตำรวจอำเภออมก๋อย พร้อมกำลังใจจากพี่น้องแนวร่วมอีกหลายสิบชีวิต