Camp3 - Decode

Camp3

Reading Time: < 1 minute

[WP-Coder id=”3″]

ชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้
เผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ 'ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ' กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Decode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
De/code ลงพื้นที่ 3 ภูเขา 3 เรื่องราว ถอดบทเรียนเขาคูหา เดินขึ้นเขาโต๊ะกรังความหวังกับคนรุ่นใหม่ และการยืนหยัดต่อสู้ของผู้หญิงตัวคนเดียวเพื่อปกป้องเขาลูกเล็กลูกใหญ่
ภายใต้ตัวละครที่หลากหลายและคิดต่างกัน ทั้งชาวบ้านที่เห็นด้วยกับการสร้างขุดลอกร่องน้ำเพื่อสร้างมารีน่า และชาวบ้านที่กังวลถึงผลกระทบที่จะตามมา กรมเจ้าท่าและหน่วยงานรัฐในพื้นที่ที่มีบทบาทในฐานะผู้เล่น รวมถึงนักวิชาการที่มาร่วมหาทางออกให้กับชุมชน เหตุใด เมื่อเกิดโครงการพัฒนาในพื้นที่ธรรมชาติเหล่านี้ การพัฒนาถึงสวนทางกับการอนุรักษ์เสมอ
De/code นำเอาเรื่องราวการต่อสู้ของชาวบ้านเพื่อปกป้องเขาโต๊ะกรัง มาถ่ายทอดไว้ในบทความชิ้นนี้ และชวนไปสำรวจทรัพยากรที่ล้ำค่าในเขาโต๊ะกรัง
แนวคิดของคาร์บอนเครดิตคือการสร้างแรงจูงใจให้บริษัทเหล่านี้ รับผิดชอบต่อการใช้สอยประโยชน์ทรัพยากรของสาธารณะ หรือเป็นเพียงแค่ช่องโหว่ทางเศรษฐศาสตร์ ที่จะให้นายทุนสามารถปล่อยของเสียต่อไปได้ เพียงแค่ให้ตัวเลขของคาร์บอนเครดิตจากกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละบริษัทเพิ่มมากขึ้น
พวกเขาไม่เคยรู้ว่านิดหน่อยของเขา มันคือทั้งชีวิตของผม
“ไกลแค่ไหนคือใกล้” เมื่อการเปรียบเทียบถึงการตระหนัก-รับรู้ “โลกร้อน” หรือ Climate Change นั้นไม่อาจฟันธงว่าผู้คนรู้สึกแบบใดกันแน่ ไม่อาจชี้ชัดได้ว่าสถานการณ์ตรงหน้ามันคืบคลานใกล้ตัวเราเข้ามาทุกที...ทุกทีแล้วจริง ๆ
“ถ้าเหมืองมันเกิด มีหลุมขนาดใหญ่ มีเสียงระเบิดวันละ 2 ครั้ง ฝุ่นฟุ้งกระจาย น้ำใช้ไม่ได้ พืชพรรณอาบไปด้วยฝุ่นจากเหมือง น้ำกินไม่ได้ ใช้ไม่ได้ หายใจก็ปเปื้อนฝุ่นละออง พวกโลหะหนักในอากาศ “มันอยู่ไม่ได้”
11 พฤศจิกายน 2562...เปิดฉากการต่อสู้กรณีเหมืองอมก๋อยกับการเข้ารับฟังข้อกล่าวหาของ 2 นักต่อสู้รุ่นใหม่ในพื้นที่อย่างพี่โจและพี่เบิ้ม ณ สถานีตำรวจอำเภออมก๋อย พร้อมกำลังใจจากพี่น้องแนวร่วมอีกหลายสิบชีวิต