Futurism Archives - Page 16 of 29 - Decode

CATEGORY Futurism
Lorem ipsum dolor sit amet.

Economy

ข้าวโพดนายทุน ฝุ่นข้ามแดนในภาวะสงครามเมียนมา

Reading Time: 4 minutes กว่าทศวรรษแห่งคำถามบนแปลงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ตัวเลขส่งออกและพื้นที่ปลูกที่โตต่อเนื่อง สวนทางกับรายได้เกษตรกรบนน่านน้ำสีน้ำตาล และไฟสงครามที่เต็มไปด้วย ‘หนี้’

Futurism

สมาคมฯกระสุนตก คนข่าวขอ Restart องค์กรวิชาชีพสื่อ

Reading Time: 4 minutes แม้แถลงการณ์ฉบับเดียวไม่อาจเอามาตัดสินทุกอย่างได้ แต่คำถามที่เกิดขึ้นกับองค์วิชาชีพสื่อจำเป็นต้องเริ่มหาคำตอบ De/code คุยกับ 3 คนข่าว คนหนึ่งเป็นคนที่ถูกยิง คนหนึ่งเป็นบรรณาธิการข่าว และอีกหนึ่งคนในฐานะนายกสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย บทสนทนา 3 วง 3 มุม พอทำให้เห็นว่าอย่างไรเสียองค์กรวิชาชีพหรือกลุ่มก้อนของวิชาชีพสื่อยังสำคัญ ส่วนทิศทางและหน้าตาว่ามันควรเป็นแบบไหนจะเปลี่ยนไปยกแผง หรือปรับประคองก็คงเป็นอยู่ที่ว่าเราอยู่มุมไหนของสนามนี้

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
Futurism

เหตุผลของการมีอยู่ของผีสางเทวดา ความมั่นคงในชีวิตที่ยังตามหลอกหลอน

Reading Time: 3 minutes สังคมจะนับถือผีจนถึงระดับเป็นรากทางสังคม แต่ความเชื่อเรื่องผีกลับถูกปฏิเสธอย่างเคร่งครัด De/code ชวน ธีระนันท์ วิชัยดิษฐ คุยเหตุผลของการมีผีอยู่

ธีทัต จันทราพิชิต
Futurism

เจเนอเรชั่น “เทรด” ซื้อประสบการณ์เสี่ยง “เขียวติดแดง จนติดดอย”

Reading Time: 3 minutes ในปี 2021 ดูเหมือน “การลงทุนทางการเงิน” จะไม่ใช้เรื่องในอนาคตของบรรดาคนหนุ่มสาวสมัยนี้อีกแล้ว แต่สำหรับหลายคนนี่กลับเป็นเรื่องราวในปัจจุบันที่พวกเขาตั้งใจศึกษาและเสี่ยงที่จะเรียนรู้ ด้วยตระหนักว่า “ดอกเบี้ยเงินฝาก” อาจไม่ได้เป็นหนทางหย่นระยะความมั่นคงในชีวิตได้อีกต่อไป

สมิตานัน หยงสตาร์
Futurism

จากหน้าจอถึงหน้าประตู: บันทึกหนึ่งวันของ ‘แรงงานขาจรออนไลน์’

Reading Time: 2 minutes สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม (JELI) หยิบผลงานเกี่ยวกับชีวิตการทำงานรายชิ้น (gig work) 3 เรื่องที่ชนะการประกวด “คน-งาน-ผ่านแอปฯ อาชีพอิสระใหม่ในโลกไม่มั่นคง” ประเภทคนงาน มารีวิวให้ฟังว่าในปีที่ผ่านมา เหล่าคนงานบนแพลตฟอร์มออนไลน์เล่าให้เราฟังว่าพวกเขามีชีวิตในฐานะ ‘คนงานขาจร’ ที่ไม่ประจำตามแอปพลิเคชันอย่างไรบ้าง

สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม
Futurism

หมอกับคนไข้ เส้นบาง ๆ ระหว่างความเป็นมนุษย์กับความเป็นมืออาชีพ ชีวอำนาจใต้เสื้อกาวน์มีอยู่จริง ?

Reading Time: 2 minutes “งดอาหารอย่างไรถึงจะได้ไม่โดนแพทย์บ่น” โปสเตอร์นี้ติดมานานแค่ไหนไม่สำคัญเท่ากับคำถามบนข้อความนั้น มองเผิน ๆ โปสเตอร์นี้เป็นเพียงป้ายให้ความรู้ตามโรงพยาบาลทั่วไป หากแต่นัยของคำว่า “บ่น” กำลังบอกเราถึงความสัมพันธ์บางอย่างระหว่างแพทย์และคนไข้ ซึ่งอาจเกินเลยไปจากการให้ “ความรู้ความเข้าใจ” ในการรักษาและตรวจโรค

ปรีชาญา ชาวกัณหา
Futurism

รับบทเป็นแม่ค้า-ลูกหนี้ ความทุกข์ระลอกเดิมของคนเมืองท่องเที่ยว ขอให้ทุกอย่างเป็นเรื่อง(ชั่วคราว)

Reading Time: 2 minutes เมื่อต้องปรับตัวเข้าเพื่อนใหม่ที่ไม่ได้อยากรู้จักมาตลอดทั้งปี ทุกคนต่างเฝ้ารอช่วงเวลาส่งท้ายปีใหม่ โดยเฉพาะ “ผู้คนในเมืองท่องเที่ยว” เพราะเป็นช่วงเวลาของการทำเงินจากผู้คนที่จะหลั่งไหลเข้ามา เพื่อเฉลิมฉลองกับวันหยุดยาว แม้อาจไม่ได้พักกายอย่างที่คนส่วนใหญ่ทำ แต่พวกเขาก็ยินดีต้อนรับด้วยความเต็มใจ

สมิตานัน หยงสตาร์
Futurism

“เพราะมหาลัยไม่ใช่ของผู้บริหาร” เรียน(ออนไลน์)ต่อต้องมองไกล จินตนาการไม่ได้สำคัญไปกว่าความจริง

Reading Time: 3 minutes “การศึกษาคือตัวเลขที่ประเมินมูลค่าไม่ได้” Decode ได้พูดคุยกับนักศึกษาจาก 2 สาขาวิชาชีพและหนึ่งอาจารย์มหาวิทยาลัยเพื่อร่วมกันถอดรหัสการเรียนการสอนแบบออนไลน์ว่าแนวทางนี้มีประสิทธิภาพมากเพียงใดในยุคชีวิตวิถีใหม่

ณัฐพร เทพานนท์
Futurism

ปลดแอกอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ เปิดสวิตช์วัฒนธรรม “ความดื้อ”

Reading Time: 3 minutes ชะตากรรมของโอไม่ต่างจากแรงงานที่เป็นฐานรากของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์อีกจำนวนมาก พวกเขาร่วงหล่นจากยุทธศาสตร์ชาติในการวิ่งหนีกักดักรายได้ปานกลางสู่ไทยแลนด์ 4.0 และเป้าหมายในการกระตุ้นเศรษฐกิจชาติด้วยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สูญสิ้นอาชีพในวิกฤตการณ์ครั้งใหญ่ และยังมองไม่เห็นความหวัง

อโนมา สอนบาลี
Futurism

ออกไปจากโมเดลแพลตฟอร์มกระแสหลัก สู่เศรษฐกิจใหม่ที่เป็นธรรม

Reading Time: 2 minutes เพราะเหตุใด สตาร์ทอัพที่กำลังกำหนดความหมายใหม่ให้กับงาน โดยฉีกสัญญาประชาคมของระบบการจ้างงานแบบเดิมนั้น กลับได้รับคำยกย่องจากสังคมและได้รับการสนับสนุนจากนักลงทุน จนทำให้คุณสมบัติของ “ดิสรัปชั่น” กลายเป็นเกณฑ์ของสตาร์ทอัพที่ดี อาจเป็นเพราะ “ดิสรัปชั่น” ที่เกิดขึ้นนั้น ยังดิสรัปไม่พอ

ดร.เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร
Futurism

แรงงานเพื่อนบ้านหลังลวดหนามความมั่นคง ครั้งสุดท้ายของการมี(สถานะ)แรงงานในไทย

Reading Time: 3 minutes ผู้มาจากรัฐยะไข่ ดินแดนที่ยังไม่สงบจากการสู้รบภายในประเทศ เพราะที่นู่น ไม่มีงานแล้ว โอกาสและปากท้องถูกปิดไฟมืดเหมือนไฟเมืองที่ดับลงเพราะสงคราม มุ่งหน้ามา ที่นี่ คือประเทศไทยหวังโอกาสการงานอาชีพและชีวิตที่ดีกว่า

ทิพากร ไชย​ประสิทธิ์​
Futurism

การลาออกครั้งสุดท้ายของ “ครูแป๊ะ” และขบวนการล่างสุดของการถูกกดขี่

Reading Time: 2 minutes เย็นวันหนึ่งปลายปี 2563 เธอเดินทางไปที่ม็อบบริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาลกับลูกศิษย์ ด้านหลังแผงกั้นแน่นหนาทั่วบริเวณมีกองกำลังทหารตรึงกำลังอยู่ทุกจุด ฝูงชนที่คลาคล่ำเต็มถนนมุ่งหน้าไปอย่างช้าๆ แต่แน่วแน่ บ้างมากันเป็นกลุ่มเล็กๆ บ้างมาตามลำพัง

อโนมา สอนบาลี
Futurism

แฟนตาซีของความจน ในสายตาผู้กำหนดนโยบายจากยอดพีระมิด

Reading Time: 2 minutes “อาจารย์หนูมีเรื่องจะเล่าให้ฟัง” เธอเป็นนักศึกษาปี 1 มหาวิทยาลัยมักจะโฆษณาอยู่เสมอว่ามีทุนการศึกษาสำหรับผู้ที่ยากจนและมีความต้องการจริงๆ และทุกคนสมควรที่จะได้เรียนก็จะได้ทุน เธอเป็นคนหนึ่งที่ทางบ้านได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจนี้

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี