Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Reading Time: 2 minutes“แม่บ้านเดลิเวอรี่” พวกเธอคือยักษ์ในตะเกียงวิเศษ กับพรสามข้อเรื่องสวัสดิการของตัวเอง แรงงานแพลตฟอร์ม (platform labor) เป็นแรงงานกลุ่มที่กำลังเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยและขณะที่เกิดการว่างงานหรือการทำงานต่ำกว่าระดับ (underemployment) สูงเช่นในปัจจุบัน
Reading Time: 3 minutesDecode ชวน ผศ.ดร.วสันต์ เหลืองประภัสร์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาย้อนที่มาของระบบการจ้างงานข้าราชการและปัญหาการจ้างงานแบบกึ่งราชการ ไปจนถึงถอดรหัสเงื่อนไขในการปฏิรูประบบราชการไทยว่าทำไมแม้เราจะมีความพยายามปฏิรูประบบนี้แค่ไหนแต่ยังไงก็ไม่สำเร็จสักที ปิดท้ายด้วยการเสนอหนทางปฏิรูปราชการที่สามารถทำได้จริงในระบบที่ขึ้นชื่อได้ว่ามีความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงสูงมาก
Reading Time: 2 minutesในช่วงห้าปีที่ผ่านมา สังคมไทยได้เห็นการเจริญเติบโตอย่างก้าวกระโดดของธุรกิจแพลตฟอร์ม เช่นการเติบโตของแพลตฟอร์มเดลิเวอรีในเขตเมือง ภาพของไรเดอร์ส่งอาหารกลายเป็นภาพชินตา ฝูงชนของพนักงานเดลิเวอรี่หลากสีกลายเป็นส่วนหนึ่งของภูมิทัศน์ของเมืองใหญ่
Reading Time: < 1 minuteการนัดหยุดงานจำเป็นต้องมาพร้อมกับข้อเรียกร้อง ซึ่งคือการเปลี่ยนประเด็นปากท้องในชีวิตประจำวันสู่การเป็นประเด็นทางการเมือง ซึ่งมวลชนมีความยืดหยุ่นมากกว่ารัฐ มีความสามารถในการสื่อสารระหว่างกันได้ดีกว่ารัฐ และที่สำคัญมีประสบการณ์ร่วมต่อปัญหาทางเศรษฐกิจแบบเดียวกันและเหนียวแน่นระหว่างกัน
Reading Time: 4 minutesอาจจะถึงเวลาแล้วที่เราทั้งสังคมต้องตั้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น ว่าภายใต้ดีกรีความโกรธที่ทะลุปรอทแตกของนักเรียนไทย แท้จริงแล้วพวกเขากำลังเผชิญหน้ากับสิ่งใดในพื้นที่(เคย)ปลอดภัยอย่างโรงเรียน Decode เดินทางไปยังโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อพูดคุยกับ เอ๋-วารุณี ทองอุ่น ผู้ก่อตั้งกลุ่ม บร.ไม่ง้อเผด็จการ หนึ่งในแนวร่วมกลุ่ม sisterhood ที่ขับเคลื่อนประเด็นสิทธิเสรีภาพของนักเรียนหญิงและกลุ่ม LGBTQI เอ๋ย้อนให้เราฟังถึงอะไรคือสิ่งที่ ‘นักเรียนหญิงไทย’ รวมไปถึง ‘ลูกสาวไทย’ ในวันนี้ต้องเจอ และความโกรธจากการโดนละเมิดสิทธิ์จุดประกายอะไรในตัวพวกเธอ พร้อมทั้งมองไปหาอนาคตที่รอบนี้พวกเธอขอเป็นคนกำหนดเองว่า โรงเรียนในฝันของนักเรียนสมัยนี้ควรเป็นอย่างไร
Reading Time: 3 minutes“ผมว่าการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งมีความขัดแย้ง ที่ไหนมีความขัดแย้ง ที่นั่นคือที่ที่มีชีวิต ความขัดแย้งมันอยู่ในตัวเราตลอด ที่ไหนไม่มีความขัดแย้งที่นั่นคือตายแล้ว” ฟังเผิน ๆ หลายคนอาจจะตีความว่าประโยคนี้คงหนีไม่พ้นซ่อนประเด็นการเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่กำลังร้อนแรงทะลุปรอทอยู่ขณะนี้เป็นแน่ แต่ไม่ใช่สำหรับ “ธงชัย อัชฌายกชาติ” หรือ เดี่ยว นักศึกษาชั้นปี 1 สาขาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่กำลังสะท้อนให้เห็นว่า เหตุใดการเปิดพื้นที่ให้ถกเถียงในห้องเรียนประวัติศาสตร์จึงควรเกิดขึ้น ไม่เช่นนั้นก็เท่ากับเป็นห้องเรียนที่รอการหายไปเท่านั้น
Reading Time: 2 minutesของเถื่อน คือ อะไร? ของเถื่อนที่เราว่านั้น มันคือประเด็นใต้ดิน ประเด็นที่สังคมไทย “ปากว่าตาขยิบ” ตั้งแต่เรื่องทำแท้ง พนักงานขายบริการ ไปจนกระทั่งการพูดถึงรสชาติเครื่องดื่มบางชนิด วันนี้ในการชุมนุมหลาย ๆ ครั้ง ประเด็นข้างเคียงข้อเรียกร้องบนเวทีเรายังเห็นประเด็นเหล่านี้ที่คนรุ่นใหม่ต้องการทำให้ดีขึ้นในเชิงกฎหมาย หรือทำให้มันถูกกฎหมาย (Legalise) เพื่อที่ว่าทุกที่อยู่แวดล้อมในวงนี้…จะได้รับสิทธิ์การคุ้มครองอย่างเต็มที่ ของเถื่อน 01: Sex Worker “สิ่งที่ยากที่สุดในการต่อสู้เรื่องนี้คือการสู้กับความเชื่อของคนที่เชื่อว่างานนี้เป็นการลดทอนศักดิ์ศรี ซึ่งไม่ใช่ศักดิ์ของคนทำงาน แต่คือศักดิ์ศรีภาพรวมของประเทศ เราต้องการให้เข้าใจสิทธิความเป็นมนุษย์มากกว่าการรักษาภาพลักษณ์ของประเทศ ประเทศของเรายังอยู่ในกรอบผู้หญิงดี ถ้าเราพ้นกรอบนี้มาได้ประเด็นการต่อสู้ของเราน่าจะรอด” ชัชลาวัณย์ เมืองจันทร์ ตัวแทนกลุ่ม sex worker บอกเล่าถึงความต้องการที่อยากเห็นอาชีพนี้และคนในสังคมมีส่วนร่วมลงชื่อเสนอร่างยกเลิก พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2539 จำนวน 10,000 รายชื่อ เพื่อให้งานขายบริการไม่ผิดกฎหมาย จากอยู่ใต้พรมเป็นขึ้นมามีสิทธิเท่าเทียมกับแรงงานคนอื่น ๆ นายจ้างจะได้ไม่เอาเปรียบ ไม่เอาเงินไปหักส่วย ไม่ถูกล่อซื้อ ไม่ต้องถูกจับ ซึ่งทุกวันนี้ยังมีการล่อซื้ออยู่แต่ไม่มีข่าวให้เห็นมากนัก ส่วนใหญ่พวกเขาทำงานที่ บาร์ คาราโอเกะ และอาบอบนวด มีทั้งคนไทยและคนต่างชาติ รวมกลุ่มกันมากว่า 20 ปีแล้ว […]
Reading Time: 2 minutesวัดอุณหภูมิความโกรธ! เขาบอกว่าเด็กสมัยนี้…เกรี้ยวกราด เป็น Angry Generation ไม่พอใจทุกอย่าง!? เราคุยกับความโกรธของพวกเขา โกรธอะไรจึงมาชุมนุม
Reading Time: 2 minutesเสียงของพ่อค้าแม่ขายที่ดังคลอไปกับเสียงปราศรัยกลายเป็นเรื่องปกติที่เรามักจะพบเห็นได้ในทุกๆ ม็อบ และยิ่งในช่วงนี้ที่เศรษฐกิจของไทยอยู่ในขั้นโคม่า การได้มาขายของในม็อบถือเป็นการดิ้นเฮือกสุดท้ายของเหล่าคนหาเช้ากินค่ำ
Reading Time: 2 minutesเวทีเสวนา “เลิกจ้างที่(ไม่)เป็นธรรม-กลไกค้มุครองแรงงานในช่วงวิกฤต” ฟังประสบการณ์การถูกเลิกจ้าง และการเรียกร้องสิทธิ์ของตัวเองจากแรงงาน ขณะเดียวกันก็มีเสียงของนายจ้าง ผู้ประกอบการ และนักกฎหมายที่มาช่วยมอง ช่วยเสนอว่าแล้วระบบการคุ้มครองแรงงานแบบไหนที่เป็นธรรมทั้งนายจ้าง และลูกจ้าง
Reading Time: 2 minutesเมื่อโลกไม่เหมือนเดิมอีกต่อไปแล้ว หลังการเข้ามาของโควิด-19 โดยเฉพาะโลกการทำงานที่วันนี้ “หายใจไม่คล่อง” แล้ว เมื่อวันที่ 20 กันนายน 2563 ที่ผ่านมา สภาองคก์ารลูกจ้างแรงงานยานยนต์แห่งประเทศไทย สำนักเครือข่ายสื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส ภาคีสังคมแรงงานสู้วิกฤตโควิด และโครงการวิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท (FES) ร่วมกันจัดเวทีเสวนา “การรักษาการจ้างงาน – ตัวอย่างที่ดี”
Reading Time: 5 minutesข่าวดังที่เริ่มต้นจากประเด็นที่มีคุณค่าข่าว เด็กน้อยวัย 3 ขวบหายตัวไป ต่อมาถูกพบเป็นศพ และต้องสืบสวนว่าทั้งหมดมีที่มาอย่างไร ระหว่างทางของคดี “ที่ยังไม่จบ” ตัวละครแวดล้อมเพิ่มมาเรื่อย ๆ ลุงพล “ไชย์พล วิภา” วัย 44 ปีคือหนึ่งในนั้น เรื่องราวชีวิตลุงพลแบบเรียลลิตี้เพิ่มขึ้นวันต่อวัน