Columnist
อุดมคติและการปฏิบัติได้จริง เส้นทางที่(ไม่)ต้องเลือก
Reading Time: < 1 minute คำว่า “อุดมคติ” กับการ “ปฏิบัติได้จริง” ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมันไม่ได้ห่างกันหรืออยู่ตรงกันข้ามแบบขาวดำแบบที่คนในยุคปัจจุบันเข้าใจ
Reading Time: < 1 minute คำว่า “อุดมคติ” กับการ “ปฏิบัติได้จริง” ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมันไม่ได้ห่างกันหรืออยู่ตรงกันข้ามแบบขาวดำแบบที่คนในยุคปัจจุบันเข้าใจ
Reading Time: < 1 minute วันนี้ มีผู้เสียชีวิตจากวิกฤติโรคระบาดในช่วง 18 เดือนกว่า 3,000 คนในประเทศไทย เป็นจำนวนที่มากกว่าจำนวนพลเรือนไทยที่เสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังไม่นับรวมการฆ่าตัวตายจากเศรษฐกิจถดถอยที่ยาวนาน ไม่นับรวมความฝันที่ค้างเติ่ง
Reading Time: 2 minutes น่าคิดว่าสำหรับการระบาดที่ยาวนานมากกว่า 18 เดือน ความเหลื่อมล้ำได้เผยให้เห็นในทุกมิติ จากการกักตัว การรักษารายได้ วัคซีน การรักษา และทุกครั้งผู้ที่ไร้อำนาจทางเศรษฐกิจ ไร้อำนาจทางการเมืองกลับเป็นผู้ที่ต้องแบกรับความเสี่ยงทั้งหมด และครั้งนี้ก็เป็นคิวของ “แรงงานก่อสร้าง” ผู้เนรมิตเมืองนี้ขึ้นมาด้วยแรงกาย หยาดเหงื่อ แต่ถูกทิ้งไว้ในซอกหลืบของสังคม
Reading Time: 2 minutes ชวนอ่านเอกสารชิ้นแรกของการอภิวัฒน์สยาม “แถลงการณ์คณะราษฎรฉบับที่ 1” ว่าความเหลื่อมล้ำที่ไม่จางหายแม้เวลาผ่านไป 89 ปี และการต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมที่หวนกลับมาในปัจจุบันโดยกระแสการต่อสู้ของคนรุ่นใหม่ในปัจจุบัน
Reading Time: < 1 minute คำอธิบายมากมายสารพัดที่จะสรุปว่า เราไม่พร้อมกับรัฐสวัสดิการ และคนไทยไม่สมควรที่จะมีชีวิตที่ดีขึ้น คำอธิบายทั้งหลายเหล่านี้ เต็มไปด้วยความปรารถนาดีแต่กลับทำให้เรื่องรัฐสวัสดิการกลายเป็นเรื่องซับซ้อน ผูกขาดความหมาย และกลายเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้
Reading Time: 3 minutes ทุกอย่างจะถูกไหลรินจากข้างบนจนเหลือเพียงหยดน้ำที่ไหลรินถึงพื้นดินที่แห้งผาก มากกว่าหนึ่งปีครึ่งของโรคระบาด มีบาดแผลหลายเรื่องที่ถูกเปิดซ้ำให้เห็นความเหลื่อมล้ำของประเทศนี้ ผู้เขียนอยากชวนทุกท่านย้อนดูซีรีส์เกาหลีร่วมสมัย ที่ได้เผยแพร่ถึงประเด็นความเลื่อมล้ำด้านสุขภาพ ยาและความตายที่ดูแล้วน่าจะชวนให้คนไทยพอได้จินตนาการว่าเรากำลังเผชิญหน้าอยู่กับอะไร มีแนวโน้มจะได้เจอกับอะไรและ เราเรียนรู้อะไรจากซีรีส์เกาหลีเหล่านี้ นำสู่ข้อเสนอทางออกในอนาคตของไทยได้บ้าง
Reading Time: 2 minutes เมื่อนึกดูแล้วนับจากผมรู้จัก เพนกวิน-พริษฐ์ มันอาจเป็นเรื่องตลกที่แทบทุกครั้งผมจะได้ยินคำพูดในลักษณะนี้ว่า “กระแสกำลังมาแล้วครับอาจารย์” เขาเป็นคนเชื่อในการต่อสู้ ในการเปลี่ยนแปลง แม้ในวันที่ยากที่สุด ในวันที่ดูไร้ทาง วันที่โดดเดี่ยว แต่สิ่งที่เขาไม่เคยเลิกที่จะพูดคือ “กระแสกำลังมาแล้วครับอาจารย์”
Reading Time: 2 minutes มีโอกาสได้อ่านหนังสือ Feminism for 99% โดย ชินเซีย อารุซชา ,ติถี ภัฏฏาจารย์ และ แนนซี่ เฟรเซอร์ แปลโดย อรชร ดำรงจิตติ ซึ่งเผยแพร่โดยสำนักพิมพ์ SOI โดยส่วนตัวแล้วนับเป็นหนังสือสตรีนิยมที่ดีที่สุดในรอบหลายปีที่มีโอกาสได้อ่าน แต่สำหรับผู้คนทั่วไปเมื่อเห็นชื่อหนังสือย่อมคิดว่าเป็นหนังสือที่น่าจะพูดถึงสิทธิสตรี การต่อต้านผู้ชาย หรือการเพิ่มบทบาทของผู้หญิงในตำแหน่งสำคัญของประเทศ
Reading Time: 3 minutes ปี 2563 เป็นปีที่กระแสรัฐสวัสดิการถูกพูดถึงมากจากแม่สายถึงยะลา จากมหาสารคาม ถึงนครปฐม หลายคนตั้งข้อสังเกตว่ากระแสดังกล่าวจะเลือนหายไปในปี 2564 แต่เป็นที่น่าสนใจมากว่าในช่วงสามเดือนแรกของปีกระแสนี้กลับเพิ่มสูงมากขึ้น และอยู่ในทุกขบวนการ ข้ามช่องว่างระหว่างวัย ข้ามประเด็นเมืองและชนบท ข้ามประเด็นนักวิชาการกับทฤษฎีและประชาชนในพื้นที่ รัฐสวัสดิการกลายเป็นประเด็นที่เชื่อมร้อยผู้คนเข้าไว้ด้วยกันอย่างมาก
Reading Time: 2 minutes อำนาจนิยมในองค์กรเป็นมือไม้สำคัญ กับอำนาจเผด็จการของการเมืองในระดับประเทศ เป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้ผู้คนต้องแยกชีวิตการทำงาน ชีวิตครอบครัว และการต่อสู้ทางการเมืองออกจากกัน และการที่ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่ระบบแรงงานสัมพันธ์และการรวมตัวในลักษณะสหภาพอยู่ในระดับต่ำผู้คนไม่คุ้นเคยกับการต่อสู้ต่อรองเพื่ออำนาจประชาธิปไตยในองค์กร
Reading Time: < 1 minute จากการที่อดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร ปรากฏตัวในแพลตฟอร์มสนทนา Club House พร้อมกับอดีตคณะทำงานพรรคไทยรักไทยเมื่อปี 2544-2548 แม้ประเด็นสนทนาจะนำสู่การตั้งคำถามในหลายประเด็นโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นทางด้านสังคม สิทธิมนุษยชน หรือรวมถึงความสัมพันธ์ทางการเมืองกับสถาบันพระมหากษัตริย์ กล่าวคือจากประเด็นข้างต้น อดีตนายกฯทักษิณ ชินวัตร ไม่ได้สะท้อนการปรับตัวตามความก้าวหน้าของประชาชนที่เกิดขึ้นในตลอดช่วงสองปีที่ผ่านมา แม้จะมีแง่มุมด้านเศรษฐกิจที่น่าสนใจและเชื่อว่าจะเป็นแนวทางสำคัญในการทำให้เศรษฐกิจฟื้นตัวหลังวิกฤติโรคระบาด
Reading Time: < 1 minute แม้ทุกคนจะทราบกันเป็นปกติถึงระบบการซื้อขายตำแหน่งในระบบราชการแต่การเปิดเผยแบบตรงไปตรงมา รวมถึงเอกสารขอความอนุเคราะห์อย่างเป็นทางการกลายเป็นสิ่งที่ชวนตั้งคำถามว่าในสังคมไทยเราสามารถยอมรับว่า “ตั๋ว” เป็นสิ่งปกติได้มากน้อยแค่ไหน หรือจริง ๆ เราทุกคนล้วนเคยใช้ “ตั๋วช้าง” ในรูปแบบที่แตกต่างกันในโครงสร้างสังคมที่เหลื่อมล้ำและต้องเกาะเกี่ยวระบบอุปถัมภ์
Reading Time: 2 minutes “อาจารย์หนูมีเรื่องจะเล่าให้ฟัง” เธอเป็นนักศึกษาปี 1 มหาวิทยาลัยมักจะโฆษณาอยู่เสมอว่ามีทุนการศึกษาสำหรับผู้ที่ยากจนและมีความต้องการจริงๆ และทุกคนสมควรที่จะได้เรียนก็จะได้ทุน เธอเป็นคนหนึ่งที่ทางบ้านได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจนี้