กุลธิดา กระจ่างกุล – Decode
Environment

ดินล้า ป่าอ่อน มรดกจากสัมปทานป่า รอยร้าวทางประวัติศาสตร์และบาดแผลของ ‘หินลาดใน’

Reading Time: 3 minutesภายใต้ความเสียหายครั้งใหญ่ของชุมชนหินลาดใน อคติทางชาติพันธุ์ได้ซ้ำเติมชุมชนอีกครั้ง ภาพน้ำผสมดินสีแดงท่วมทะลักตัดกลางชุมชนหินลาดใน พร้อมกับ รถยนต์ ผู้คน ที่ไหลไปพร้อมกับสายน้ำสีดินแดงข้นคลั่กด้วยความแรงและเร็ว

กุลธิดา กระจ่างกุล

ภาพยนตร์และยุคสมัยของเควียร์ 1901-2021

Reading Time: 2 minutesหนังสือ 6 ทศวรรษของเควียร์ในภาพยนตร์: จากผู้ทำลายเป็นผู้สร้าง (ครอบครัว) โดย ภาวิน มาลัยวงศ์ เป็นงานวิเคราะห์ที่พาผู้อ่านสำรวจภาพแทนและบทบาทของตัวละครเควียร์ในโลกภาพยนตร์ ตั้งแต่อดีตในยุคสมัย 1901 จนถึง ค.ศ. 2023 จากยุคที่พวกเขาถูกมองว่าเป็น “ภัยคุกคาม” ผู้บ่อนทำลายสถาบันครอบครัวไปสู่ยุคที่พวกเขาสามารถสร้างเรื่องราวของตนเอง และสร้างครอบครัวในแบบที่พวกเขานิยามเองได้ 

กุลธิดา กระจ่างกุล
กุลธิดา กระจ่างกุล

หว่านเมล็ดพันธุ์แห่งการต่อสู้จากผืนนาสู่จานข้าว

Reading Time: 3 minutesหนังสือที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตแทบในทุกตัวอักษร ลมหายใจ และอาหารบนจานข้าว การเริ่มต้นด้วยหลักการ หลักฐานเมล็ดพันธุ์ทางความคิด ขบวนการต่อสู้ และการเมืองเกษตรนิเวศ  

กุลธิดา กระจ่างกุล
กุลธิดา กระจ่างกุล

ยาสมิน อุลลาฮฺ : เส้นทาง 32 ปีที่ ‘ลี้ภัย’ รอดตายจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ‘โรฮิงญา’ จนเกือบสูญสิ้นความเป็น ‘คน’

Reading Time: 4 minutesความเลวร้ายในสังคมปิตาธิปไตยที่เห็นดีเห็นงามกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ตลอดจนกดขี่ เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ศาสนา กลายเป็นความรุนแรงที่ฝังลึกและกลายเป็นวัฏจักรวนลูปของความรุนแรงที่ไม่สิ้นสุดและเหวี่ยงชีวิตคนนับล้านให้ต้องพลัดถิ่น 

กุลธิดา กระจ่างกุล
กุลธิดา กระจ่างกุล

Capitalocene ทุนนิยมฟอกเขียว

Reading Time: 2 minutesAnthropocene บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน เป็นหนังสือที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นในโอกาส 30 ปี ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ที่รวมบทความเชิงวิชาการ โดยนักวิชาการหลากหลายศาสตร์ อย่าง โบราณคดี ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์  ซึ่งทำให้เห็นมุมมองที่หลากหลายต่อคำว่า มนุษย์สมัย ที่เกิดจากการวิกฤตของโลกอย่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสภาวะโลกร้อน แอ๊น-เธฺร่อ-เพ่อ-ซีน คำว่า “Anthropocene” ถูกเสนอโดย ยูจีน สเตอร์เมอร์ (Eugene F. Stoermer) กับ พอล ครุตเซน (Paul Crutzen) ในปี ค.ศ. 2000 ในจดหมายข่าว โปรแกรมศึกษาชีวภาค-ธรณีภาคนานาชาติ (IGBP) และต่อมาครุตเซนได้อธิบายให้กระชับขึ้นในวารสาร Nature 2002 ถึงการนิยามเพื่ออธิบายยุคใหม่ในประวัติศาสตร์โลกที่มนุษย์กลายเป็นสิ่งสำคัญที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สภาพภูมิอากาศ และสภาพภูมิศาสตร์ของโลก คำว่า Anthropocene ประกอบด้วยสองส่วน “Anthropos” มาจากภาษากรีก แปลว่า “มนุษย์” “Cene” เป็นคำที่ใช้ในทางธรณีวิทยาเพื่อระบุช่วงยุคทางประวัติศาสตร์ ในทางทฤษฎีนั้น Anthropocene ว่าด้วยผลกระทบสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่ทิ้งร่องรอยตรวจวัดได้ ทั้งในอากาศ น้ำ และดิน […]

กุลธิดา กระจ่างกุล
กุลธิดา กระจ่างกุล

เสียงจากประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ เมื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีคือสิทธิมนุษยชน กฎหมายจะไม่เป็นแค่ตัวหนังสือ

Reading Time: 3 minutesหนึ่งในผิดพลาดของแผนแม่บทบริหารจัดการแร่ที่เด่นชัด คือ การขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งแร่ส่วนใหญ่ไม่ได้รับโอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ  ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนนั้นไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชนไม่สามารถทำได้อย่างถูกต้อง การขาดการสำรวจพื้นที่อย่างละเอียดและมีความรอบคอบยังเป็นอีกหนึ่งปัญหา 

กุลธิดา กระจ่างกุล
กุลธิดา กระจ่างกุล

ถนนสาย ‘สหพันธรัฐเมียนมา’ ไม่โรยด้วยกลีบกุหลาบ

Reading Time: 3 minutesประวัติศาสตร์ความเจ็บปวดจากการโดนกดขี่ของชนกลุ่มน้อยเป็นเหตุผลให้รูปแบบการปกครองแบบสหพันธรัฐถูกหยิบยกมาเป็นหนึ่งในทางออกให้กับเมียนมาที่เผชิญปัญหากับรัฐเผด็จการมาอย่างยาวนาน 

กุลธิดา กระจ่างกุล