Environment Archives - Decode

CATEGORY Environment
Lorem ipsum dolor sit amet.

Environment

ปลุกผีแก่งเสือเต้น รัฐซ่อนอะไรไว้ ใต้เครื่องหมายคำถาม ‘เขื่อน’ หรือ ‘ดงสักงาม’ ที่รัฐอยากได้

Reading Time: 5 minutes ภาพโลงศพที่ชาวบ้านในพื้นที่ตำบลสะเอียบจุดไฟเผาหุ่นจำลองของนักการเมืองทั้งสามท่านที่สนับสนุนการสร้างเขื่อน ภายหลังคำกล่าวของรองนายกรัฐมนตรี ที่ถือเป็นการ ‘ปลุกผี’ เขื่อนแก่งเสือเต้นให้กลับมาอีกครั้ง

ณัฐณิชา มีนาภา
Environment

Survive แบบใด ‘ไม่มีคำตอบสำเร็จรูป’ ในโลกที่แปรปรวน

Reading Time: 4 minutes ในภาวะที่โลกกำลังหาทาง “รอด” มนุษย์กลับอยู่ใจกลางของเรื่องนี้เพราะ “มันมาถึง” แล้ว และยากจะหนีพ้น และบ่อยครั้งเราก็อาจตกอยู่ในสภาพของผู้ประสบภัยได้โดยง่าย “สัญญาณ”โต้กลับจากธรรมชาติที่ส่งผลต่อเราทุกคน

นทธร เกตุชู
Environment

เลิกเอาชนะธรรมชาติ สู่การจัดการน้ำด้วยวิถีธรรมชาติที่จับต้องได้

Reading Time: 2 minutes วิกฤติน้ำท่วมในภาคเหนือที่เพิ่งจะผ่านไป รวมทั้งวิกฤติภัยพิบัติจากน้ำทั่วโลกทำให้เกิดคำถามสำคัญว่า ปัจจุบันการจัดการน้ำที่ดำเนินการอยู่มาถูกทางหรือเพียงพอที่จะรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่กำลังเกิดขึ้นหรือไม่  อาจถึงเวลาแล้วที่เราต้องทบทวนและแสวงหาทางเลือกในการจัดการน้ำเพื่อรับมือกับภัยพิบัติที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ จากวิกฤติสภาพภูมิอากาศ​ 

ดร.เพชร มโนปวิตร
Environment

หลัง COP29 รัฐไทยก้าวไม่ทันกับความแปรปรวนของโลก

Reading Time: 3 minutes ชวนหาคำตอบกับความสูญเสียที่ประเทศไทยได้รับจากภัยพิบัติในปีที่ผ่านมา ประเทศไทยอยู่ในส่วนใดของกองทุนช่วยเหลือ และไม่ว่าจะได้รับเงินสนับสนุนด้านการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศหรือไม่ วันนี้รัฐบาลไทยควรเร่งพัฒนาสิ่งใดเพื่อพาประเทศไปสู่ข้อตกลงทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริง

ณัฐณิชา มีนาภา
Environment

ป่าในเมือง ปั่น เก็บ กิน บนผืนดินที่เปลี่ยนไป

Reading Time: 4 minutes สีเขียวของต้นไม้ในเมืองใหญ่ๆ ของไทยดูเหมือนเป็นเรื่องย้อนแย้งทางความเชื่อและการปฏิบัติเสมอมา เรามักได้รู้ได้ยินโครงการรณรงค์ปลูกต้นไม้ให้เป็นปอดของเมือง ผลิตออกซิเจนให้ผู้คนที่อยู่อาศัย ลดมลพิษ เป็นร่มเงาสีสัน ถ้าเป็นสมัยปัจจุบัน ก็อาจรวมถึงเรื่องโครงการธนาคารต้นไม้ หรือคาร์บอนเครดิต ที่คิดคำนวณไว้ให้สัมพันธ์กับสภาวะสิ่งแวดล้อมโลก ทว่า ก็ยังได้ยินข่าวการตัดฟันต้นไม้อย่างรู้ไม่เท่าถึงการณ์ อย่างปราศจากความรู้ความเข้าใจด้านรุกขศาสตร์อยู่บ่อยครั้ง จนน่าสงสัยว่า ตกลงคนไทยจะเอายังไงกับต้นไม้กันแน่

กฤช เหลือลมัย
Environment

สระบุรีความเร็วสูง รางดีหรือลางร้าย?

Reading Time: 4 minutes จากใจคนทางผ่าน เมื่อรถไฟความเร็วไม่ได้นำมาซึ่งความเจริญ แต่พาคันดินสูง 7 เมตรมาทับหัวใจของคนหนองแซง ในวันที่วิถีชีวิตกำลังจะสูญหายภายใต้โครงการพัฒนาของรัฐ

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Environment

Capitalocene ทุนนิยมฟอกเขียว

Reading Time: 2 minutes Anthropocene บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน เป็นหนังสือที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นในโอกาส 30 ปี ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ที่รวมบทความเชิงวิชาการ โดยนักวิชาการหลากหลายศาสตร์ อย่าง โบราณคดี ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์  ซึ่งทำให้เห็นมุมมองที่หลากหลายต่อคำว่า มนุษย์สมัย ที่เกิดจากการวิกฤตของโลกอย่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสภาวะโลกร้อน แอ๊น-เธฺร่อ-เพ่อ-ซีน คำว่า “Anthropocene” ถูกเสนอโดย ยูจีน สเตอร์เมอร์ (Eugene F. Stoermer) กับ พอล ครุตเซน (Paul Crutzen) ในปี ค.ศ. 2000 ในจดหมายข่าว โปรแกรมศึกษาชีวภาค-ธรณีภาคนานาชาติ (IGBP) และต่อมาครุตเซนได้อธิบายให้กระชับขึ้นในวารสาร Nature 2002 ถึงการนิยามเพื่ออธิบายยุคใหม่ในประวัติศาสตร์โลกที่มนุษย์กลายเป็นสิ่งสำคัญที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สภาพภูมิอากาศ และสภาพภูมิศาสตร์ของโลก คำว่า Anthropocene ประกอบด้วยสองส่วน “Anthropos” มาจากภาษากรีก แปลว่า “มนุษย์” “Cene” เป็นคำที่ใช้ในทางธรณีวิทยาเพื่อระบุช่วงยุคทางประวัติศาสตร์ ในทางทฤษฎีนั้น Anthropocene ว่าด้วยผลกระทบสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่ทิ้งร่องรอยตรวจวัดได้ ทั้งในอากาศ น้ำ และดิน […]

กุลธิดา กระจ่างกุล
Environment

เสียงจากประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ เมื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีคือสิทธิมนุษยชน กฎหมายจะไม่เป็นแค่ตัวหนังสือ

Reading Time: 3 minutes หนึ่งในผิดพลาดของแผนแม่บทบริหารจัดการแร่ที่เด่นชัด คือ การขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งแร่ส่วนใหญ่ไม่ได้รับโอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ  ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนนั้นไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชนไม่สามารถทำได้อย่างถูกต้อง การขาดการสำรวจพื้นที่อย่างละเอียดและมีความรอบคอบยังเป็นอีกหนึ่งปัญหา 

กุลธิดา กระจ่างกุล
Environment

ภัยพิบัติควบคุมบ่ได้ แต่จัดการได้ Better Practice ของวารินชำราบบ้านเฮา

Reading Time: 6 minutes การรับมือภัยพิบัติของวารินชำราบจะมีประชาชนเป็นด้านหน้าก็จริง แต่รัฐเป็นหน่วยสนับสนุนที่รับฟัง และลงมาทำข้อมูลร่วมกับประชาชน ความร่วมมือนี้จะไม่เกิดขึ้นหากเรายังฟังเสียงกันและกันในพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติกันมากพอ และมันอาจไม่ใช่ใครต้องเป็นคนนำหรือคนตาม หัวใจสำคัญของการก้าวข้ามภัยพิบัติคือแต่ละฝ่ายรู้หน้าที่ของตัวเองว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไรเมื่อภัยมา

นทธร เกตุชู
Environment

ในวันที่สันเขื่อนคือเรือนบ้าน บางระกำ รับกรรม ‘หน่วง’ น้ำไปอีกนาน?

Reading Time: 4 minutes แผนของชลประทาน คือการสร้างเขื่อน แต่พื้นที่เขื่อนเป็นบ้านและนาข้าวของชาวบ้าน บางระกำโมเดลเลยเป็นเขื่อนที่มีโฉนดที่ดิน มีเจ้าของที่อยู่ในเขื่อนนี้ด้วย

ณัฐณิชา มีนาภา
Environment

เดซิเบลของการแจ้งเตือน วิกฤติหลังไซเรนเที่ยงคืน เสียงเตือนว่าเรา ‘ไม่วางแผนรับมือ’ แบบวันนี้ไม่ได้แล้ว

Reading Time: 4 minutes ถ้าการเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติเป็นเหมือนกับบทละครหรือ ‘ซีเนริโอ’  ประชาชนที่เป็นผู้เล่น ควรมีโอกาสได้ออกแบบ และเข้าไปมีบทบาทในเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติให้เสร็จสมบูรณ์ เมื่อเกิดภัยแล้ว จะไม่นำไปสู่การตั้งคำถามของประชาชนว่าควรทำอย่างไรต่อ หรือรู้ภัยที่กำลังมา แต่ไม่มีแผนรองรับในช่วงเวลาการเกิดภัย

ณัฐณิชา มีนาภา
Environment

จาก ‘วันหนึ่ง’ จนวันนี้ ทศวรรษของการช่วงชิงผืนป่าลำปาง

Reading Time: 6 minutes กว่าหนึ่งทศวรรษของนโยบายทวงคืนผืนป่า ทวงคืน 40% แห่งความสมบูรณ์ แลกมาซึ่งการสูญสิ้นซึ่งชีวิตชีวาของป่าไม้ และการอยู่ร่วมระหว่างคนกับป่าที่เป็นเพียง’วาทกรรม’

ธเนศ แสงทองศรีกมล