Human Rights Archives - Decode

CATEGORY Human Rights
Lorem ipsum dolor sit amet.

Human Rights

ยาสมิน อุลลาฮฺ : เส้นทาง 32 ปีที่ ‘ลี้ภัย’ รอดตายจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ‘โรฮิงญา’ จนเกือบสูญสิ้นความเป็น ‘คน’

Reading Time: 4 minutes ความเลวร้ายในสังคมปิตาธิปไตยที่เห็นดีเห็นงามกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ตลอดจนกดขี่ เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ศาสนา กลายเป็นความรุนแรงที่ฝังลึกและกลายเป็นวัฏจักรวนลูปของความรุนแรงที่ไม่สิ้นสุดและเหวี่ยงชีวิตคนนับล้านให้ต้องพลัดถิ่น 

กุลธิดา กระจ่างกุล
Human Rights

ความตายที่ชายแดน ‘อ่องโกโก’ ความยุติธรรมที่ล้มเหลว ‘ลอยนวล’

Reading Time: 4 minutes สิ้นเสียงร้องของชายหนุ่ม 12 มกราคม 2567 อ่องโกโกพลเมืองชาวเมียนมาถูกพบเป็นศพบริเวณชาย ท่ามกลางข้อสงสัยว่าใครเป็นฆาตกรรม ระหว่างทหารไทยหรือทหาร BGF?

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Human Rights

เสียงจากประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ เมื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีคือสิทธิมนุษยชน กฎหมายจะไม่เป็นแค่ตัวหนังสือ

Reading Time: 3 minutes หนึ่งในผิดพลาดของแผนแม่บทบริหารจัดการแร่ที่เด่นชัด คือ การขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งแร่ส่วนใหญ่ไม่ได้รับโอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ  ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนนั้นไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชนไม่สามารถทำได้อย่างถูกต้อง การขาดการสำรวจพื้นที่อย่างละเอียดและมีความรอบคอบยังเป็นอีกหนึ่งปัญหา 

กุลธิดา กระจ่างกุล
Human Rights

สันติภาพยิ่งพร่าเลือน วิธีแก้ปัญหาสามจังหวัดชายแดนใต้ยิ่งต้องทบทวน

Reading Time: 3 minutes ที่ผ่านมาเรามักมีคำถามกันเสมอว่าเพดานของการแก้ไขปัญหาสามจังหวัดภาคใต้ของรัฐบาลอยู่ที่ไหน ถ้าพิจารณาเงื่อนไขการพูดคุยสันติภาพระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มบีอาร์เอ็นจะพบว่า มีการกำหนดเอาไว้ว่าการพูดคุยจะต้องกระทำโดยอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นั่นก็น่าจะชัดแล้วว่า ยกเว้นเรื่องของการแยกดินแดนแล้วเรื่องอื่นๆที่รัฐธรรมนูญยอมให้ทำได้ย่อมเป็นไปได้ทั้งสิ้น หนทางเดินต่อไปในการแก้ปัญหาจึงไม่ใช่เรื่องลี้ลับพิสดารอันใด อยู่ที่ว่าจะเสนอกันแค่ไหนและองคาพยพต่างๆของรัฐไทยจะยอมรับกันได้หรือไม่เท่านั้น ผู้เขียนเชื่อว่าข้อเสนอของกรรมาธิการฯจะเป็นเพียงจุดตั้งต้นให้ฝ่ายต่างๆเหล่านี้ได้ต่อรองกัน อย่างน้อยที่สุดก็ในรัฐสภาซึ่งในเวลานี้เห็นชัดเจนว่าฝ่ายที่อนุรักษ์ส่วนใหญ่ไปกระจุกตัวกันอยู่ในกลุ่มสว.และสว.นั่นเองที่เกาะติดการทำงานแก้ปัญหาภาคใต้ของรัฐบาลที่ผ่านมา  

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Human Rights

‘ปาตานี’ ในสายตาคนรุ่นหลัง ยังมีไหม ‘ความหวัง’ แห่งสันติภาพ

Reading Time: 3 minutes คำว่า “ปาตานี” และ “เอกราช” ไม่ใช่คำที่ใส่เข้ามาอย่างไม่มีต้นสายปลายเหตุ คำทั้งสองเกิดจากความเข้าใจความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และความเข้าใจต่อปัญหาในพื้นที่ปัจจุบันของอีแป็งและเพื่อน บทสนทนานี้อาจจะช่วยให้เข้าใจเจตนาของพวกเขาได้บ้าง โดยตลอดทั้งบทความ (รวมถึงชื่อบทความ) จะขอเรียกพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ว่า “พื้นที่ปาตานี” เพื่อให้สื่อสาร “เสียง” ของคู่สนทนาออกมาได้อย่างชัดเจนที่สุด

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
Human Rights

‘พิษหนองพะวา’ ไขปริศนาโกดังหมายเลข 5 ชำระประวัติศาสตร์อาชญากรรมทางสิ่งแวดล้อม

Reading Time: 6 minutes หายนะระลอกใหม่ พิษหนองพะวาในวันนี้เหลือซากโกดังไฟที่ลุกลามไปทั่วทั้งโกดัง 5 โรงงานของบริษัทวิน โพรเซสฯ หลักฐานความล้มเหลวในการจัดการกากอุตสาหกรรม แม้จะชนะคดีตามคำพิพากษาของศาลจังหวัดระยอง ในปี 2565 แต่ค่าเยียวยา 20.8 ล้านบาท ซึ่งรวมถึงการเยียวยา บำบัด ฟื้นฟูพื้นที่ตามคำพิพากษาคดีหมายเลขดำที่ สวพ 1/2564 นั้นก็ยังไม่เกิดขึ้นจริง

นทธร เกตุชู
Human Rights

กำแพงหรือประตูปิดตาย ก่อนไทยจะไปถึงเป้าหมาย ‘เจ้าสมุทร’ ความเสี่ยงใบเหลืองค้ามนุษย์ ในเกลียวคลื่น(ร่าง)แก้ไขกฎหมายประมง

Reading Time: 4 minutes แม้หลายปีที่ผ่านมาจะมีความพยายามของประเทศไทยในการปรับปรุงกฎหมายประมงให้เทียบเท่ามาตรฐานกลเพื่อยกระดับสภาพการทำงานของแรงงาน อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติยังปรากฏความท้าทายในการนำหลักการทางกฎหมายไปบังคับใช้ จากความฉุกละหุก เร่งรีบในการออกกฎหมาย อีกทั้งขาดเสียงรอบด้านในกิจการประมงโดยเฉพาะเสียงของแรงงานในการร่วมออกแบบชีวิตการทำงานของพวกเขา และในวันนี้ 8 ร่างแก้ไขกฎหมายประมงที่กำลังมีข้อกังวลถึงความเสี่ยงด้านการปลดล็อกอุปกรณ์จับปลาทำลายล้างและการค้าทาสสมัยใหม่
หรือไทยกำลังไฟเขียวให้การค้าทาสสมัยใหม่ แต่เสี่ยงโดนใบเหลืองจากสหภาพยุโรป?

นทธร เกตุชู
Human Rights

ความฝันนั้นมีเสียง สิ้นสลายในวันที่กองทัพเมียนมาก่อรัฐประหาร

Reading Time: 3 minutes ฟังเสียงความฝัน ในวันที่มินอ่องลายรัฐประหาร 3 ปีผ่านไป แต่ 3 ความฝันของคนรุ่นใหม่ที่กลับบ้านและเห็นบ้านเกิดเป็นประชาธิปไตยยังคงอยู่

กุลธิดา กระจ่างกุล
Human Rights

ไกลบ้านเพราะการเมือง 14 ปีของการลี้ภัยและประชาธิปไตยที่ทลายเจ้า-ปืน-ทุนของ ‘จรรยา ยิ้มประเสริฐ’

Reading Time: 5 minutes ฉากชีวิตของจรรยา ยิ้มประเสริฐ จากเด็กเรียนดีแห่งบางปลาม้ากลายเป็นคนไม่รักในหลวง สู่ข้อถกเถียงมาตรา 112 ในวันที่กฎหมายภายใต้ความจงรักภักดีนี้ยังบีบบังคับให้ใครหลายคนต้องไกลบ้าน ไม่ได้กลับบ้าน หรือกลับบ้านเพียงร่างที่ไร้วิญญาน
ถึงเวลาสร้างประวัติศาสตร์ฉบับประชาชน เขียนเครื่องหมายคำถามตัวใหญ่กับการถูกทำให้หายไปอำนาจรวมตัวต่อรองของประชาชนต่อสถาบันกษัตริย์ คณะรัฐประหาร ทุนผูกขาด รวมถึงรัฐบาลอภิสิทธิ์และพรรคเพื่อไทย ในความขัดแย้งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สังคมไทยกำลังก้าวข้ามความขัดแย้งแบบใดกันแน่
58 ปีตลอดชีวิต 14 ปีที่ต้องลี้ภัยกับ 1 ความหวังของจรรยา สังคมไทยในวันข้างหน้าจะไม่มีคนรุ่นใหม่คนไหนต้องลี้ภัยอีกแล้ว

นทธร เกตุชู
Human Rights

ระบบจัดการผู้ลี้ภัยล้มเหลว ใบปริญญาจึงเป็นแค่ปลายทาง

Reading Time: < 1 minute เพราะประเทศไทยก็มีผู้ลี้ภัยมายาวนาน หลายคนก็อยู่ที่ไทยมานานกว่าหลายสิบปี ทำให้นโยบายเพียงแค่เฉพาะหน้าจึงไม่สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้เพียงพอ

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​
Human Rights

นิรโทษกรรม ตรงไป…ไม่สุดซอย ‘ไม่ใช่ก้าวแรกที่สังคมเดินทางมาถึง’ แต่เป็นก้าวแรก(อีกครั้ง)ในรอบ 20 ปี

Reading Time: 3 minutes ตามหาความยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่านผ่านการนิรโทษกรรมกับ พูนสุข พูนสุขเจริญ หัวหน้าฝ่ายวิจัยและกฎหมาย ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน กับการขับเคลื่อนร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน เมื่อก้าวแรกคือการนิรโทษกรรม ก้าวต่อไปยิ่งสำคัญคือการตามหาความปรองดองที่แท้จริงในสังคมไทย

นทธร เกตุชู
Human Rights

วิมานลวง ‘เล้าก์ก่าย’ โชคดีที่รอดตายจากเมืองหลวงมาเฟีย แก๊งคอลเซ็นเตอร์ในคราบจีนเทา

Reading Time: 3 minutes เรื่องราวของสุรวัช เริ่มต้นขึ้นในเดือนกันยายน 2023 เมื่อเขาลาออกจากงานเสิร์ฟอาหาร เพื่อมองหางานใหม่ที่ดีกว่า แต่กลับกลายเป็นเรื่องราวที่เขาต้องถูกแก๊งมิจฉาชีพชาวจีน บังคับให้ทำงานหลอกลวงคนอื่นทางโลกออนไลน์ ในเมืองเล้าก์ก่าย ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมียนมาติดกับพรมแดนจีน

ณฐาภพ สังเกตุ