เปิดแผลจำเลย ในคดีฟ้อง ‘ปิดปาก’ นักสิทธิมนุษยชน
Reading Time: 2 minutesนักสิทธิมนุษยชนรอดพ้นคดีฟ้องปิดปาก แต่การคุกคามด้วยกฎหมาย หรือที่เรียกว่าคดี SLAPP ยังคงอยู่ และยังคงบั่นทอนการทำงานและจิตใจของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
Reading Time: 2 minutesนักสิทธิมนุษยชนรอดพ้นคดีฟ้องปิดปาก แต่การคุกคามด้วยกฎหมาย หรือที่เรียกว่าคดี SLAPP ยังคงอยู่ และยังคงบั่นทอนการทำงานและจิตใจของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
Reading Time: 3 minutesการต่อสู้ของคนจนต่ออำนาจรัฐและทุนมากว่า 20 ปี และยังไม่มีทีท่าว่าพวกเขาจะได้รับสิทธิ์ในที่ดินเหล่านั้นในเร็ววัน จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้สรารัตน์และคนอื่นๆ ต้องเดินทางมาเรียกร้องต่อรัฐบาลในทุกยุคทุกสมัย เพื่อหวังว่าในวันใดวันหนึ่งพวกเขาจะมีผืนดินในการทำมาหากินและอยู่อาศัย ได้อย่างไม่ต้องหวาดกลัวว่าใครจะมาขับไล่และดำเนินคดี เพื่อเอาที่ดินผืนสุดท้ายของพวกเขาไป
Reading Time: 3 minutesอรรถสิทธิ์ย้อนกลับไปเล่าถึงความทรงจำในคืนวันดังกล่าวที่เขาถูกซ้อมทรมาน เขาบอกว่านอกจากพ.ต.ท. พีรรัฐ โยมา ที่เป็นคนทำร้ายร่างกายเขา ตำรวจคนอื่นๆ กลับเลือกปฏิบัติตามคำสั่งและเลือกที่จะไม่ยับยั้งเหตุการณ์ทั้งที่รู้ว่าเป็นสิ่งที่ผิด พวกเขาเกรงกลัวอำนาจผู้บังคับบัญชา มากกว่าความถูกต้องตามหลักกฎหมายและหลักมนุษยธรรม อรรถสิทธิ์เป็นหนึ่งในผู้ถูกซ้อมทรมาน ที่ลุกขึ้นมาเรียกร้องความเป็นธรรม และเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการจัดทำพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ โดยการให้ข้อมูล แต่ในสังคมไทยยังมีผู้ถูกซ้อมทรมานอีกนับหลายราย ที่ไม่มีโอกาสได้ออกมาเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ตัวเอง ด้วยความหวาดกลัวที่พวกเขาต้องเผชิญ
Reading Time: 3 minutesจากรัฐสภาไทยถึงฟินแลนด์-สวีเดน กับทางแก้ไขปัญหาแรงงานไทยในขบวนการค้าทาสสมัยใหม่ ช่องโหว่ภายใต้คำว่า โควตา ที่บริษัทนายหน้าและบริษัทแม่ใช้ขูดรีดแรงงาน ในขณะที่ภาครัฐยังไร้ซึ่งทางออกที่รัดกุม จนนำไปสู่ข้อสงสัย หรือเม็ดเงินหลักพันล้านจึงทำให้ขบวนการค้าทาสสมัยใหม่ยังคงอยู่และไร้ซึ่งการลงดาบต่อบริษัทเหล่านี้อย่างจริงจังจากกระทรวงแรงงาน กระทรวงต่างประเทศ และรัฐบาลทั้ง 3 ประเทศ
Reading Time: 5 minutesชีวิตบั้นปลายของ ’ปราณี ด่านวัฒนานุสรณ์’ 5 ปีที่ยังตามหาสามี ‘สุรชัย แซ่ด่าน’
ชีวิตที่ไม่ต่างจากปุถุชนคนอื่น คู่รักที่ใช้เวลาว่างไปกับการดูหนัง ชอบทานแกงใต้ และอยากอยู่ด้วยกันไปจนวันสุดท้าย แต่รัฐกลับมองพวกเขาเป็นเพียงปีศาจ
ชีวิตจริงที่ต้องไปต่อของครอบครัวผู้ถูกอุ้มหาย ที่รัฐเผด็จการไม่เข้าใจว่าการรอมันเจ็บปวดเพียงใด
Reading Time: 2 minutesหะยีสุหลงเป็นที่จดจำในฐานะที่เป็นผู้ยื่นข้อเรียกร้องเจ็ดข้อให้กับรัฐบาล เป็นเจ็ดข้อเรียกร้องที่ว่ากันว่าสาระของมันยังคงทันสมัยเพราะแก่นของมันยังสะท้อนอยู่ในข้อเรียกร้องของกลุ่มขบวนการที่ต่อสู้เพื่อแยกพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้อย่างกลุ่มบีอาร์เอ็น ส่วนอีกสถานะหนึ่งก็คือสถานะการเป็นผู้ถูกบังคับให้สูญหาย
Reading Time: 3 minutesความผิดปกติของกระบวนการยุติธรรมภายใต้กฎอัยการศึก
“เขาใช้เท้าเตะก้านคอผม และบอกให้ผมรับสารภาพ” และ “เขาบอกให้ผมรับสารภาพ ครอบครัวผมจะได้ปลอดภัย” นี่คือส่วนหนึ่งจากจดหมายคำให้การของจำเลยที่ถูกจับกุมและถูกควบคุมตัวจากคดีระเบิดป่วนกรุงเทพฯเมื่อปี2562 ซึ่งจำเลยได้ตัดสินใจเขียนเล่าให้ทนายว่าเขาถูกปฏิบัติอย่างไรขณะควบคุมตัว
Reading Time: 2 minutesแทบทุกเขตในประเทศไทยจะมี ผู้หญิง เข้าไปแย่งชิงพื้นที่ทางการเมืองในสภาด้วย
และมีส.ส. หญิงหลายท่านถูกเลือกให้ทำหน้าที่เป็นปากเสียงของประชาชน โดยเฉพาะฝ่ายรัฐบาลใหม่ ที่ ส.ส.หญิงหลายท่านล้วนผ่านการลงถนนและการต่อสู้ทางความคิดมาแล้วอย่างดุเดือด จนเป็นเหตุให้สังเกตว่าพื้นที่ของสตรี
ในสภาและแนวคิดด้านสตรีนิยมจะขยับเขยื้อนไปในทิศทางใด
Reading Time: 6 minutesการทำงานช่วยเหลือครอบครัวไม่ใช่เรื่องแย่เสมอไป แต่อะไรคือเส้นแบ่งว่า นี่คือรูปแบบการเป็นแรงงานเด็ก (Forced Child Labor) ที่ทำให้เด็กต้องเผชิญความเสี่ยงต่อชีวิต/จิตใจ และการเติบโต
Reading Time: 3 minutesแรงงานอพยพ กับ ผู้ลี้ภัยสงคราม กลุ่มคนที่แตกต่างกันด้วยฤทธิ์กฎหมาย หากแต่เมื่อคลี่ดูดี ๆ แล้ว พวกเขาคือ ผู้อพยพข้ามชาติที่แสวงหา “แหล่งพักพิง”
Reading Time: 3 minutesชวน พุทธนี กางกั้น – ผู้อำนวยการ The Fort พื้นที่เพื่อการเปลี่ยนแปลงในภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้องค์กรเพื่อสิทธิมนุษยชน Fortify Right ผู้คลุกคลีกับประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนเด็กมากว่า 10 ปี มานั่งพูดคุยถึงปรากฎการณ์ไทยยืนหนึ่งในเรื่องที่ไม่ควรยืน สถานะของเด็กลี้ภัยในประเทศไทย ท่าทีของรัฐไทยต่อสังคมโลก รวมถึงสายตาที่รัฐและภาคประชาชนควรจะใช้มองผู้ลี้ภัย
Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 23 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus