“ไม่ได้เป็นเกย์ แค่ชอบผู้ชายคนนี้คนเดียว” นิยายวายไม่เท่ากับสนับสนุนความเท่าเทียมทางเพศ
Reading Time: 2 minutes แค่อยากเป็นสาววาย ไม่ได้อยากเดบิ้วเป็นนักสิทธิ LGBT เลิกคิดว่าสาววายทุกคนต้องสนับสนุน LGBT ได้แล้ว
Reading Time: 2 minutes แค่อยากเป็นสาววาย ไม่ได้อยากเดบิ้วเป็นนักสิทธิ LGBT เลิกคิดว่าสาววายทุกคนต้องสนับสนุน LGBT ได้แล้ว
Reading Time: 2 minutes วันนั้นพ่อทำร้ายร่างกายแม่ด้วยการต้อนให้แม่นั่งอยู่กับที่ โดยในมือถือของมีคมขู่ น้องสาวเราไปเจอเข้า น้องโดนกรรไกรแทงเป็นแผลยาวตอนพยายามกันแม่
Reading Time: 2 minutes Beauty Privilges มงกุฎที่ไม่ได้มีเป็นชิ้นส่วน แต่เป็นการยกย่องบุคคลที่มีความสวยตามคติ แล้วบุคคลเหล่านั้นจะได้สวมมงกุฎนี้ไปโดยปริยาย
Reading Time: 3 minutes ถูกแอบถ่ายในห้องน้ำ จนถึงการข่มขืนระหว่างช่วยงานรุ่นพี่ เรื่องราวเหล่านี้เกิดขึ้นในรั้วมหาวิทยาลัย ที่ถูกคาดหวังให้เป็นดินแดนแห่งเสรีภาพ ปลอดภัย และเต็มไปด้วยปัญญาชน
Reading Time: 3 minutes คุยเรื่องรัก หาคู่นอนผ่านมุมมองของคนรุ่นใหม่ พรมแดน และดินแดนเซ็กส์ ความรัก ความสัมพันธ์หน้าตาแบบไหน
Reading Time: 3 minutes กรณีนิติจุฬาไม่ใช่ครั้งแรกที่การคุกคามทางเพศผ่านสื่อออนไลน์เกิดขึ้นในสังคมไทย De/code จึงชวน ดร.มาร์ค เจริญวงศ์ อัยการจังหวัดประจำสำนักอัยการสูงสุด ผู้ทำหน้าที่ร่างและเสนอกฎหมายเกี่ยวกับการกระทำผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ ซึ่งเป็นร่างบัญญัติที่กำลังผลักดันให้แทรกลงในประมวลกฎหมายอาญาอยู่ขณะนี้ มาพูดคุยถึงประเด็น #นิติจุฬา และความจำเป็นที่จะต้องมีกฎหมายเกี่ยวกับการกระทำผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ในสังคมไทย
Reading Time: 3 minutes ความคิดแบบเพศทวิลักษณ์ ทวิลักษณ์แห่งเพศ หรือ Gender Binary เป็นระบบความคิดที่ยึดโยงว่าโลกใบนี้มีเพียงแค่สองเพศ ไม่หญิงก็ชาย ไม่ชายก็หญิง เป็นเพียงขั้วตรงข้ามสองขั้วที่มีความแตกต่างอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นบทบาท ความสัมพันธ์ ความสามารถ งานอดิเรก และประเด็นยิบย่อยอันเป็นกรอบครอบชีวิตทุกคนโดยอ้างว่านั่นคือสิ่งที่เหมาะสมและควรจะเป็นความคิดเหล่านั้นถูกพร่ำบอกไปมาจนราวกับว่าเป็นคำตอบที่ถูกต้องเพียงหนึ่งเดียวในที่สุด
Reading Time: 3 minutes สมัยเรียนใครเคยเรียนเรื่องฝังยาคุมบ้าง ยกมือขึ้น…หากมือทั้งสองข้างของคุณจะยังคงชิดลำตัวนั้นหมายความว่าคุณไม่ได้ผิดปกติ ถ้าใครชูมือขึ้นมานี่สิแปลก จนอาจจะต้องถามต่อว่าเรียนจบที่ไหนมา ด้วยตลอดมาการเรียนการสอนวิชาสุขศึกษาในโรงเรียน โดยเฉพาะในประเด็นการคุมกำเนิด ดูคล้ายเป็นเรื่องลี้ลับมาตลอด
Reading Time: 2 minutes มีโอกาสได้อ่านหนังสือ Feminism for 99% โดย ชินเซีย อารุซชา ,ติถี ภัฏฏาจารย์ และ แนนซี่ เฟรเซอร์ แปลโดย อรชร ดำรงจิตติ ซึ่งเผยแพร่โดยสำนักพิมพ์ SOI โดยส่วนตัวแล้วนับเป็นหนังสือสตรีนิยมที่ดีที่สุดในรอบหลายปีที่มีโอกาสได้อ่าน แต่สำหรับผู้คนทั่วไปเมื่อเห็นชื่อหนังสือย่อมคิดว่าเป็นหนังสือที่น่าจะพูดถึงสิทธิสตรี การต่อต้านผู้ชาย หรือการเพิ่มบทบาทของผู้หญิงในตำแหน่งสำคัญของประเทศ
Reading Time: 3 minutes “กฎหมายนี้ส่งผลต่อประชาชนทุกคน ไม่ใช่เพศใดเพศหนึ่ง” – แม้การทำแท้งจะเป็นสิทธิทางร่างกายของผู้ตั้งครรภ์ แต่เสียงวิพากย์วิจารณ์จากสังคมที่กระพือขึ้นมาใหม่ทุกครั้งเมื่อมีการพูดถึงการยุติการตั้งครรภ์ปลอดภัยกำลังพยายามบอกอะไรกับผู้สนับสนุนข้อกฎหมายนี้กันแน่
Reading Time: 3 minutes “โดนไปกี่ดอกถึงเสียสติขนาดนี้”
“ยังมีหน้ากลับไปเป็นเมียเขาอีกเหรอ”
“ยังจะกลับไปให้เขาเสียหน้าอีกเหรอ”
De/code ได้มีโอกาสเชิญ ยะหยา ผู้ใช้ทวิตเตอร์และผู้บริโภคที่ต้องการเสพสื่อบันเทิงคุณภาพ และเจ้าของเพจ เขียนบทปลดแอก คนทำงานเบื้องหลังวงการบันเทิงที่ต้องการความเปลี่ยนแปลงมาร่วมกันไขรหัสของปัญหาละครแบบไทย ๆ ที่อยู่คู่กับหน้าจอโทรทัศน์มาช้านาน
Reading Time: 3 minutes จากเหตุเด็กหญิงถูกผู้นำชุมชนข่มขืนที่บ้านกกตูม ถึงประเด็นความสมยอมร่วมของความสุขทางเพศในโลกออนไลน์ จากอำแดงเหมือนถึงเฟมทวิต ความรุนแรงต่อผู้หญิงในเชิงวัฒนธรรมได้ตัดผ่านทุกช่วงอายุ ทุกเพศสภาพ และทุกชนชั้น หากประโยคที่ว่า “ข่มขืนเท่ากับประหาร” ดูสิ้นหวังเกินไปกับความเป็นมนุษย์ เรามาเริ่มต้นกันที่รากเหง้าของความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม น่าจะเข้ากับบรรยากาศแบบเบิกเนตรของปี 2021 มากกว่า