รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี, Author at Decode - Page 2 of 8
Welfare state

ถอดรหัสความล้มเหลวของรัฐสวัสดิการไทยในเลนส์ของ Acemoglu ‘Why Nations Fail’

Reading Time: < 1 minute Acemoglu กับ Johnson เป็นอาจารย์อยู่ที่ MIT ส่วน Robinson เป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยที่มหาวิทยาลัยชิคาโก เขาเชี่ยวชาญเรื่องเศรษฐกิจแอฟริกาและละตินอเมริกาเป็นพิเศษ เมื่อปี 2012 Acemoglu จับมือกับ Robinson เขียนหนังสือชื่อ “ทำไมบางชาติถึงล้มเหลว” (Why Nations Fail) ที่พยายามไขปริศนาว่าทำไมบางประเทศถึงรวย ในขณะที่บางประเทศยากจนแสนเข็ญ อันเป็นสิ่งที่ผู้คนตั้งคำถามกันมาหลายศตวรรษ ภูมิประเทศ ทรัพยากร ศาสนา ชาติพันธุ์  กองทัพ ความสามารถของผู้นำ ?  

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

ความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน : ชวนอ่านวิทยานิพนธ์ว่าด้วยความรักในโลกเหลื่อมล้ำ

Reading Time: < 1 minute ความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน เป็นประเด็นที่ถูกตั้งในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ แต่คำถามง่าย ๆ คือ แต่ละคนสามารถรักษาความรักได้เท่า ๆ กันหรือไม่ หรือในอีกทางหนึ่งผู้คนที่มีประสบการณ์ที่หลากหลายแตกต่างกัน พื้นหลังทางเศรษฐกิจสังคมแตกต่างกันจะนิยามความรักเหมือนกันหรือไม่ เป็นคำถามที่มนุษย์ถามกันมาหลายศตวรรษ ทั้งในประวัติศาสตร์ บทกวี บทเพลงที่เราต่างเพียรถามกันว่า “รักคืออะไร” ในงานวิจัยนี้ได้ฉายภาพให้เห็นว่า สำหรับอารยธรรมของมนุษย์ นิยามความรักแบบทางการในแต่ละยุคสมัยก็มีความแตกต่างกัน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

ประชาธิปไตยที่(ไม่)ตั้งมั่นกับสามคำถามของคนรุ่นหลัง

Reading Time: < 1 minute ทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ์ทางการเมืองหรือสังคมซึ่งสะท้อนความไม่ปกติ ในสังคมไทย ตัวผมเองมักจะมีคำถามอยู่เสมอว่า เราจะอธิบายเรื่องเหล่านี้ ให้คนรุ่นถัดไป เข้าใจได้อย่างไร เป็นภาระหน้าที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญเหมือนกัน ไม่ใช่เพียงแค่ในฐานะคนที่สอนหนังสือในมหาวิทยาลัย แต่ในฐานะคนที่อยู่ในสังคม เพราะมันก็ความยากในการที่จะอธิบายสิ่งหนึ่ง ที่เคยเป็นเรื่องที่คนรุ่นก่อนรู้สึกว่าปกติสามารถทำได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ไทย ในปี 2567 และการยุบพรรคก้าวไกล

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

รู้จักแนวคิดประกันสังคมถ้วนหน้า : ก้าวสำคัญสู่รัฐสวัสดิการ

Reading Time: < 1 minute คอลัมน์ประกายไฟลามทุ่งฉบับนี้ พูดถึงแนวคิดเรื่องประกันสังคมตามบริบทความเข้าใจของสังคมไทย ถูกมองว่าเป็นกระบวนการสร้างสวัสดิการผ่านระบบการ สมทบแบบไตรภาคี เป็นเงินส่วนที่ นายจ้าง ผู้ประกันตน และฝ่ายรัฐ ซึ่งนับว่าเป็นการพิจารณารูปแบบการประกันสังคมในรูปแบบหนึ่งเท่านั้น

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

ยุคสมัยที่กำลังจะมาถึง…โลกของคนที่เกิดหลัง 2553 สดุดีชีวิตและความยุติธรรม อำลา ‘ปัจเจกนิยม’

Reading Time: < 1 minute เราอาจมองย้อนไปว่าคนที่กำลังจะเป็นคนรุ่นใหม่ต่อไปอีกในอนาคต ก็คือคนที่เกิดหลังปี 2553 ซึ่งตอนนี้ส่วนมากกำลังอยู่ในระดับชั้นมัธยมต้น ผมเองไม่อาจสามารถสรุปคุณค่าของวันพรุ่งนี้ได้ แต่มีเรื่องสำคัญที่เราเองอาจพอวิเคราะห์ได้ว่า ความคาดหมายและมุมมองของเขาต่อโลกได้ดังนี้

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

อุดมคติและการปฏิบัติได้จริง เส้นทางที่(ไม่)ต้องเลือก

Reading Time: < 1 minute คำว่า “อุดมคติ” กับการ “ปฏิบัติได้จริง” ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมันไม่ได้ห่างกันหรืออยู่ตรงกันข้ามแบบขาวดำแบบที่คนในยุคปัจจุบันเข้าใจ

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

สิ่งที่ AI แทนมนุษย์ไม่ได้

Reading Time: < 1 minute สิ่งที่ทำลายความเป็นมนุษย์ไม่ได้เกิดจาก AI แต่เกิดจากประดิษฐกรรมอื่นก่อนหน้าของมนุษย์เอง ไม่ว่าจะเป็น “รัฐผูกขาด” “สงคราม” “ระบบทุนนิยม” “อำนาจนิยม” หากมนุษย์ปฏิเสธสิ่งเหล่านี้ได้ เราก็จะสามารถใช้ AI เพื่อตอบสนองต่อความเป็นมนุษย์พื้นฐานของเราให้สมบูรณ์มากขึ้นได้

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี