Inequality Archives - Page 8 of 14 - Decode

CATEGORY Inequality
Lorem ipsum dolor sit amet.

Inequality

คลองเตยรายวัน หนี้รายเดือน “เหลือเงินติดตัวแค่ 5 บาท” เฮือกสุดท้ายของชีวิตติดลบ

Reading Time: 3 minutesเมื่อการกักตัวทำให้รายได้ของทุกคนเท่ากับศูนย์ พวกเขายอมกักตัว แต่ตอนนี้ทั้งครอบครัวต้องเผชิญกับความเดือดร้อน

ณฐาภพ สังเกตุ
Inequality

SMEs ไม่ใช่ผีหนีภาษี แต่เป็นคนถูกลืม

Reading Time: 2 minutesSMEs คือกลุ่มที่ถูกละเลยเสมอมาทุกระลอก ทั้ง ๆ ที่สำคัญมากต่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของประเทศ โดยเฉพาะกลุ่ม Informal Sector ทั้งหลายที่มีมากกว่า 2 ล้านราย ที่มักได้รับมาตรการช่วยเหลือน้อยนิด บางกลุ่มธุรกิจแทบไม่ได้รับการช่วยเหลือเลย

ศานนท์ หวังสร้างบุญ
Inequality

สำนึก “บ้านเกิด” ของคนหนุ่มสาว

Reading Time: 3 minutesDe/code ลงใต้ไปพูดคุยกับกลุ่ม “บ้านเกิด” คนใต้รุ่นใหม่ที่รวมตัวกันเพื่อหาช่องทางกลับบ้านมาใช้ชีวิต และทำฝันในบ้านที่เกิดและเติบโตมา เมืองหาดใหญ่ที่เคยเป็นศูนย์กลางการค้าแดนใต้ แวดล้อมไปด้วยสถานศึกษาผลิตปัญญาชน คนมีคุณภาพเข้าสู่เมือง แต่เสียงคนรุ่นใหม่ไม่เคยดังพอที่จะเปลี่ยนแปลงเมืองนี้ได้ บ้านเกิดจึงรวมตัวกันเพื่อส่งเสียงให้รู้ว่ามีคนรุ่นใหม่ในเมืองนี้ที่ผู้ใหญ่ไม่เคยมองเห็น

ทิพากร ไชย​ประสิทธิ์​
Inequality

แพลตฟอร์มทำ “นิวโลว์” ถึงจุดต่ำสุดของคนทำงานแพลตฟอร์ม สวนทางกับความรับผิดชอบของบริษัทยักษ์ใหญ่

Reading Time: 2 minutesโควิด-19 กำลังทำให้สภาพ “นิวโลว์” ต่ำลงได้อีก เมื่อความเสี่ยงของคนทำงานสวนทางกับความรับผิดชอบของบริษัทแพลตฟอร์ม

ดร.เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร
Inequality

บำนาญแห่งชาติ เงินทิพย์ของแม่น้อยอุ่น

Reading Time: 3 minutesแนวคิดเรื่อง “พระราชบัญญัติบำนาญแห่งชาติ” มีเป้าหมายหลักเพื่อให้ผู้สูงอายุวัย 60 ปีขึ้นไป ได้รับเบี้ยบำนาญ 3,000 บาทต่อเดือน เปรียบเสมือนตัวบทกฎหมายที่จะเข้ามาแก้ปัญหาระบบสวัสดิการที่ไม่ครอบคลุม มีความเหลื่อมล้ำในกลุ่มประชากรต่าง ๆ โดยเฉพาะการไม่ตอบโจทย์ต่อกลุ่มประชากรที่มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน (Poverty line) โดยข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนปี 2562 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ และประมวลผลโดยสำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม พบว่าเส้นความยากจนของประชากรไทยโดยวัดจากมาตรฐานค่าใช้จ่ายขั้นต่ำที่คนจะดำรงชีวิตอยู่ได้ (Minimum Requirement) อยู่ที่ 2,710 บาทต่อเดือน

อโนมา สอนบาลี
Inequality

ยิ่งเรียกร้อง ยิ่งโดนแบน…ยิ่งต้องสร้างอำนาจต่อรองให้ “แรงงานแพลตฟอร์ม” ยกสองตั้ง “คณะทำงานเพื่อคนงาน”

Reading Time: 4 minutesสถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม (JELI) ร่วมกับกรรมาธิการแรงงาน สภาผู้แทนราษฎร สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท (FES) รวมทั้งตัวแทนจากคนงานแพลตฟอร์ม จัดงานสัมมนา “แรงงานแพลตฟอร์ม: จะกำหนดอนาคตการจ้างงานอย่างไรให้คนงานมีส่วนร่วม” เพื่อทำความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาของแรงงานแพลตฟอร์ม

อโนมา สอนบาลี
Inequality

อนาคตของงานยังมี “คนงาน” อยู่ในสมการ ?

Reading Time: 2 minutesแกะรอย “อนาคตของงาน” จ้างงานอย่างไรให้คนงานมีส่วนร่วม และนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยมีความเที่ยงธรรมมากได้อย่างไรบ้าง

ดร.เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร
Inequality

นั่งแลหนังฟังคนเล่า : หลายฉากหลากทัศนะชายแดนใต้ผ่านหนังสั้นของคน “วงใน”

Reading Time: 2 minutesนอกจาก “ระเบิด” ยังนึกถึงอะไรอีกบ้างเมื่อพูดถึงสามจังหวัดชายแดนใต้?.ภาพจำความรุนแรงที่ถูกฉายซ้ำอาจกำลังเบี่ยงเบนสายตาคนนอกไม่ให้เห็น “ภาพจริง” อีกมากมายที่ตกค้างอยู่ในพื้นที่ หลายปัญหาจึงเรื้อรังและวนลูปไม่จบสิ้น คำถามต่อมาคือแล้ว “คนใน” จะเล่าเรื่องที่ไม่เคยถูกเล่าให้คนนอกฟังอย่างไรได้บ้าง

อติรุจ ดือเระ
Inequality

ได้ครับพี่ ดีครับผม คงสถานะฟรีแลนซ์โดยสมบูรณ์

Reading Time: 4 minutesการทำอาชีพอิสระเท่ากับการไม่มีสิทธิเข้าถึงการดูแลจากหน่วยงานกลางอย่างนั้นหรือ Decode พาไปสำรวจชีวิตชาวฟรีแลนซ์ รวมถึงหาคำตอบของสมการที่ว่า ฟรีแลนซ์=อิสระ+สวัสดิการของรัฐ เกิดขึ้นได้จริงหรือไม่

สมิตานัน หยงสตาร์
Inequality

เก้าอี้ดนตรี: การแข่งขันอันมืดบอด

Reading Time: < 1 minuteโลกสมัยใหม่ต้องการอะไร? เมื่อสังคมของเรามันก็เป็นแบบนี้มานานแล้ว…คุณปลอบ ใคร ๆ ก็บอกอย่างนั้น โลกที่มีเก้าอี้มากมายเหลือเกินที่ต้องแย่งชิง

วีรพร นิติประภา
Inequality

7 ความเห็นร่วมสมัยกับประเด็น #ทำแท้งปลอดภัย

Reading Time: 3 minutes“กฎหมายนี้ส่งผลต่อประชาชนทุกคน ไม่ใช่เพศใดเพศหนึ่ง” – แม้การทำแท้งจะเป็นสิทธิทางร่างกายของผู้ตั้งครรภ์ แต่เสียงวิพากย์วิจารณ์จากสังคมที่กระพือขึ้นมาใหม่ทุกครั้งเมื่อมีการพูดถึงการยุติการตั้งครรภ์ปลอดภัยกำลังพยายามบอกอะไรกับผู้สนับสนุนข้อกฎหมายนี้กันแน่

ณัฐพร เทพานนท์
Inequality

“ผู้รอดชีวิต”จากอำแดงเหมือนถึงเฟมทวิต ความรุนแรงต่อผู้หญิงในสังคมไทยเมื่อไหร่จะเป็นวาระแห่งชาติ

Reading Time: 3 minutesจากเหตุเด็กหญิงถูกผู้นำชุมชนข่มขืนที่บ้านกกตูม ถึงประเด็นความสมยอมร่วมของความสุขทางเพศในโลกออนไลน์ จากอำแดงเหมือนถึงเฟมทวิต ความรุนแรงต่อผู้หญิงในเชิงวัฒนธรรมได้ตัดผ่านทุกช่วงอายุ ทุกเพศสภาพ และทุกชนชั้น หากประโยคที่ว่า “ข่มขืนเท่ากับประหาร” ดูสิ้นหวังเกินไปกับความเป็นมนุษย์ เรามาเริ่มต้นกันที่รากเหง้าของความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม น่าจะเข้ากับบรรยากาศแบบเบิกเนตรของปี 2021 มากกว่า

อโนมา สอนบาลี