Conflict Resolution Archives - Page 7 of 34 - Decode

CATEGORY Conflict Resolution
Lorem ipsum dolor sit amet.

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Conflict Resolution

รื้อมายาคติไร่หมุนเวียน วิทยาศาสตร์ชุมชนของคนชาติพันธุ์

Reading Time: 4 minutesมายาคติในไร่หมุนเวียน นโยบายป่าไม้ของรัฐที่พาคนชาติพันธุ์ออกจากป่า เงื่อนไขทางสิทธิอยู่อาศัยและทำกินผูกปมแน่น และเป็นสามทศวรรษที่คนใช้ป่ายังต้องพิสูจน์ว่าฝุ่นควันไม่ได้เกิดจากพวกเข

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Conflict Resolution

ชาติพันธุ์ในโลกทุนนิยม การเผชิญหน้ากับนโยบายป่าที่ไร้คน

Reading Time: 3 minutesเราต้องดูแลป่า เพราะเรามีทุกอย่างในนั้น ป่าสำหรับคนในชุมชนเปรียบเสมือน เซเว่น บิ๊กซี โลตัสของคนเมือง อยากจะกินอะไรอยากจะเอาอะไรก็มี เราเลยต้องดูแล ถ้าไม่ดูแลเราเองก็อยู่ไม่ได้

กุลธิดา กระจ่างกุล
Conflict Resolution

ไร้รากเหง้า

Reading Time: < 1 minuteตัวตน ณ ที่แห่งหนึ่งของ เอแรมโบ้ เมื่อรัฐผลักให้เขาและเธอที่ไร้บ้าน กลายเป็นคนที่ไร้ตัวตนและไร้รากเหง้าไปด้วย

สิทธิพล ชูประจง
Conflict Resolution

Gentrification คำนี้ที่ชื่นชมหรือรู้ทัน? คนรวยย้ายเข้า คนจนย้ายออก

Reading Time: 3 minutesขออธิบายแนวคิด gentrification จากมุมมองแนวทฤษฎีเมืองวิพากษ์ (critical urban theory) ซึ่งมีจุดยืนวิจารณ์การพัฒนาเมืองกระแสหลักที่มุ่งเน้นการเติบโตของเมือง ทำให้กลุ่มทุนขนาดใหญ่ได้ประโยชน์ และละเลยผู้ที่ถูกบังคับให้ย้ายถิ่น (displaced) 

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Conflict Resolution

เสรีประชาธิปไตยรสขม นาวาล่มที่ปากอ่าว

Reading Time: 2 minutesใครก็ตามที่ได้อ่านว่าด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรม มาแล้ว เขาผู้นั้นบรรลุความอดกลั้นท่ามกลางความไม่อดกลั้นในสังคมเหลื่อมล้ำต่ำสูง ความอดกลั้นเชื้อเชิญร่วมพิธีสมรสกับความโดดเดี่ยวของผู้นั้นที่วางอยู่บนรากฐานของการมี Rationality เช้าวันนั้น ชายวัยกลางคนหยิบยื่นหนังสือ Liberal Democracy ชำเลืองมุมซ้าย ธเนศ วงศ์ยานนาวา เขียน

ภัทราภรณ์ ศรีทองแท้
Conflict Resolution

เศรษฐกิจสีน้ำเงิน เพื่อมหาสมุทรที่เย็นลง

Reading Time: 2 minutesหากเราสามารถปลดล็อกศักยภาพของมหาสมุทรในการต่อสู้กับโลกร้อนได้จริง ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นย่อมมากกว่าแค่การบรรเทาวิกฤตสภาพภูมิอากาศเพียงด้านเดียว แต่ยังหมายถึงโอกาสในการฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของท้องทะเล สร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน การจ้างงานที่ยั่งยืน ไปจนถึงการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนชายฝั่ง ซึ่งถือเป็นรากฐานสำคัญของเศรษฐกิจสีน้ำเงินหรือ Blue Economy นั่นเอง

ดร.เพชร มโนปวิตร
Conflict Resolution

ห้ามบุกรุก! เมื่อหาดถูกทําให้เป็นเรื่องของรัฐและกม. ทวนนิยาม ‘ชายหาด’ แล้วใครกันคือเจ้าของ

Reading Time: 3 minutesเมื่อชายหาดสาธารณะถูกครอบครองโดยเอกชน บ้างผ่านการออกเอกสารสิทธิ์ บ้างปิดทางกั้นสาธารณะ เกิดขึ้นในหลายจังหวัด กินพื้นที่เป็นแนวยาวหลายกิโลเมตร De/code ชวนตั้งคำถามว่า ‘ชายหาดเป็นของใคร ?’ อีกครั้งหลังเหตุการณ์ชาวต่างชาติเข้าทำร้ายร่างกายพญ.ธารดาว จันทร์ดำ ที่แหลมยามู ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

ณัฐพร เทพานนท์
Conflict Resolution

‘ไม่มีใครอยากเข้าร่วมกับทหาร’ ความเป็นมนุษย์ที่ถูกพรากจากหญิงสาวเมียนมา ในแนวรบที่กองทัพบังคับเกณฑ์ทหาร แต่ฉากหลัง ‘เราตายในแนวหน้า’

Reading Time: 3 minutesหลังประกาศเกณฑ์ทหาร คนเมียนมาทะลักออกนอกประเทศ ทว่าไม่ใช่ทุกคนที่จะออกมาได้ หนึ่งในนั้นคือ จูเลีย ที่ ‘การรับใช้ชาติ’ เป็นเพียงการก้าวสู่ความตายเท่านั้นโลกที่หยุดนิ่งไม่ทันก้าวย่างของยุคสมัย กระแทกซ้ำด้วย ‘การรับใช้ชาติ’ ที่สำหรับเธอเป็นเพียงก้าวสู่ความตาย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Conflict Resolution

ONLY HUMAN บนเส้นทางประชาธิปไตย

Reading Time: 3 minutesเรายังไม่ลืม ไม่เคยลืม แต่มันชัดเจนอีกครั้งจากภาพแรกที่พร่าเลือน ถึงภาพสุดท้ายที่มัว ๆ แสงสลัว ๆ จากกลางวันที่แสงสว่างสาดส่อง ปิดจบด้วยค่ำคืนที่มืดมัว มืดจนวันนี้ก็ยังมืด

วิภาพร วัฒนวิทย์
Conflict Resolution

ความฝันนั้นมีเสียง สิ้นสลายในวันที่กองทัพเมียนมาก่อรัฐประหาร

Reading Time: 3 minutesฟังเสียงความฝัน ในวันที่มินอ่องลายรัฐประหาร 3 ปีผ่านไป แต่ 3 ความฝันของคนรุ่นใหม่ที่กลับบ้านและเห็นบ้านเกิดเป็นประชาธิปไตยยังคงอยู่

กุลธิดา กระจ่างกุล
Conflict Resolution

ภาวะโลกเดือดกับชะตากรรมของมหาสมุทร (ตอนที่ 2) มหันตภัยปะการังฟอกขาว

Reading Time: 3 minutesปัจจุบันปะการังหลายแห่งอยู่ในสภาวะเสื่อมโทรมอันเนื่องมาจากมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นมลภาวะขยะ ตะกอนจากการพัฒนาชายฝั่ง และการทำประมงมากเกินขนาด รวมไปถึงการท่องเที่ยวที่ไม่รับผิดชอบ  

ดร.เพชร มโนปวิตร
Conflict Resolution

ฤามรดกโลกอยู่ในภาวะอันตราย? : เขื่อน, มรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ่

Reading Time: 5 minutesนับแต่ปี 2554 เริ่มเป็นปีที่ผืนป่าแห่งนี้ถูกตั้งคำถามเกี่ยวกับภัยคุกคามที่เกิดจากโครงการก่อสร้างเขื่อน ร่วมกับภัยคุกคามอื่นๆ เป็นครั้งแรก เพราะภัยคุกคามเหล่านี้ได้รับความสนใจจากคณะกรรมการมรดกโลก ที่กำหนดให้ประเทศไทยต้องปฏิบัติตามคำแนะนำและเสนอรายงานความก้าวหน้าอยู่เป็นระยะ และในปี  2560 และปี 2564 คณะกรรมการมรดกโลกได้พุ่งประเด็นไปที่โครงการเขื่อนเหล่านี้โดยตรง โดยขอให้ประเทศไทยยกเลิกโครงการทั้งหมดในผืนป่าแห่งนี้อย่างถาวร และระงับโครงการอื่นๆ ที่อยู่ในพื้นที่โดยรอบ เพื่อรอให้มีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ก่อน

ปิยะภรณ์ วงศ์เรือง