Human & Society Archives - Page 2 of 12 - Decode

CATEGORY Human & Society
Lorem ipsum dolor sit amet.

Human & Society

หมอผี “นักลักขุด” ในหลุมขุดค้นโบราณคดี

Reading Time: 3 minutes นักลักขุดและหมอผี บางเรื่องเล่าของชีวิตนักโบราณคดีในหลุมขุดค้นไม่ใช่แค่อาชีพที่ขุดค้นอดีตเท่านั้น แต่ยังต้องทำงานกับ “ความเชื่อ” เป็นอย่างมาก
และยากไปกว่านั้น คือการประนีประนอมกับ “คนเป็น” ที่ผูกพันกับพื้นที่ของ “คนตาย” ซึ่งนักโบราณคดีจะต้องเข้าไปขุดค้น เพื่อนำข้อมูลออกเผยแพร่สู่สาธารณชน

Human & Society

การกินเหล้าในมุมมองของคนจน

Reading Time: 3 minutes ยกแก้ววัฒนธรรมการเมาของคนจนเมือง กับระดับความเมาแบบมานุษยวิทยาในคอลัมน์ชาวบ้านชาวช่อง เมื่อเงื่อนไขทางชนชั้น อาชีพการงานที่ต่างกันย่อมก็มีผลต่อการดื่มที่ต่างกัน เช่น อาชีพที่ใช้ร่างกายหนักอย่างงานก่อสร้าง หรือช่างเชื่อมที่ปวดตา แล้วต้องอาศัยการดื่มเหล้าเพื่อช่วยให้นอนหลับ เป็นเงื่อนไขการทำงานของคนจนที่นำไปสู่การดื่มซึ่งต่างจากพนักงานออฟฟิศ

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Human & Society

กุสุมรสจากดงกะเพรา

Reading Time: 4 minutes ลองพลิกดูตำรากับข้าวเก่าๆ ราวครึ่งศตวรรษก่อน จะแทบไม่เห็นผัดกะเพราในสารบัญเล่มไหน อาจมีแทรกในเล่มที่ว่าด้วยกับแกล้มเหล้าเบียร์บ้าง แต่ก็มิได้ให้ความสำคัญอะไรเป็นพิเศษ ถ้าเป็นฉบับทางการหน่อย ตัวอย่างเช่น ตำรับอาหารวิทยาลัยในวัง เป็นไม่มีร่องรอยให้เห็นเอาเลย
เรียกได้ว่า ผัดกะเพรา หรือผัดพริกใบกะเพรานั้น ไม่ใช่อะไรที่สลักสำคัญในช่วงสักสามสิบสี่สิบปีก่อนหน้านี้

กฤช เหลือลมัย
เกลียวคลื่นและกระแสลม-โรสนี Human & Society

เกลียวคลื่นและกระแสลมแห่งการเปลี่ยนแปลงยังเดินทางมาไม่ถึงเรา

Reading Time: < 1 minute บทกวีเชิงสารคดี ‘เกลียวคลื่นและกระแสลมแห่งการเปลี่ยนแปลงยังเดินทางมาไม่ถึงเรา’ โดย โรสนี นุรฟารีดา เมื่อลมพัดพาให้เราไปที่ที่ไม่เคยนึกจะมา และลมก็พัดพาไปที่ที่เราไม่เคยคิดจะไปเหมือนกัน

โรสนี นูรฟารีดา
Human & Society

สืบสันดานคนใช้ เรื่องของการสืบสันดานใน ‘สืบสันดาน’

Reading Time: 2 minutes จากสงครามครูเสดถึง ‘สืบสันดาน’ สันดานจึงไม่ใช่แค่นิสัย แต่สำหรับโตมร นับเป็นความเชื่อร่วมที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบและเป็นประวัติศาสตร์

โตมร ศุขปรีชา
Human & Society

สืบจากแฟ้มตลาดวรรณกรรมสืบสวน ทำไมถึงเป็นขาขึ้น! ‘จริง ๆ คนไทยเป็นนักสืบในตัว’ ในมุมมอง ‘พิมพ์ชนก ศิริวรรณนาวี’

Reading Time: 2 minutes คนไทยเป็นนักสืบในตัว หนึ่งในเหตุผลที่ดิว – พิมพ์ชนก ศิริวรรณนาวี บรรณาธิการบริหาร กลุ่ม Literature มองว่ามีส่วนที่ทำให้ตลาดวรรณกรรมสืบสวน สยองขวัญเติบโตอย่างรวดเร็ว เธอสำทับด้วยคำว่า “ตลาดฟู”

Decode
Human & Society

ขายแรงแลกเงิน

Reading Time: < 1 minute สิ่งที่น่าสนใจของแรงงานภาคเหนือคือพลวัตของ Sex Worker ย่านยูเทิร์นที่มีประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชวนจินตนาการ เมื่อก่อนจะมีอาชีพแปลกอย่างหนึ่งควบคู่กับงานบริการทางเพศ นั่นคือซุ้มยาโด้ปเลือดงูที่ตั้งตามตรอกซอกซอยไว้ดื่มให้กระปรี้กระเปร่าก่อนเข้าห้องพร้อมกับผู้ให้บริการ กระทั่งรัฐเข้ามาจัดระเบียบ อาชีพนี้จึงหายไป

editor
Human & Society

หาดใหญ่ ถ้าไม่รู้จักก็ไม่รัก

Reading Time: 2 minutes บันทึกการเดินเมืองอีกครั้ง ณ หาดใหญ่ กับพี่แหม่ม-วีรพร ที่การเดินพาเราไปให้รู้จักกันมากขึ้น กับประโยคที่ว่า “คุณไม่รู้จัก คุณก็ไม่รัก  คุณไม่รักคุณก็จะไม่ปกป้องรักษาหรือพัฒนามัน”

วีรพร นิติประภา
Human & Society

หมอลำ เป็น จน ตาย เพราะรักหรือไร้หลักประกันในชีวิตแรงงานนอกระบบ 

Reading Time: 3 minutes ชีวิตบนเส้นทางความฝันสู่ความจริง เมื่อชุดเพชรแวววาวที่สวมใส่ล้อกับแสงไฟจากเวทีเพื่อให้ตัวนักแสดงเปล่งประกายท่ามกลางผู้ชมที่คอยเฝ้ามองข้างล่างเวทีนั้นกลับหนักอึ้งและถ่วงรั้ง เมื่อความสามารถการลำไม่ใช่แค่สิ่งเดียวที่การันตีถึงชีวิตที่มั่นคง

กุลธิดา กระจ่างกุล
Human & Society

ต่างจังหวัด : อำนาจและการควบคุม

Reading Time: 2 minutes ท้องถิ่นจะถูกมองให้เป็นอะไรที่หยุดนิ่ง ทั้งที่จริง ๆ แล้วในท้องถิ่นแต่ละพื้นที่ก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา หากมีการกระจายอำนาจก็จะทำให้แต่ละพื้นที่สามารถดูแล จัดการ บริหารแต่ละภาคส่วนด้วยตนเองได้ 

จิรภา ประทุมมินทร์
Human & Society

“กำจัด” รสเผ็ดซ่าชาลิ้น วัฒนธรรมการกินที่(ไม่)จำกัดแค่ “หมาล่า”

Reading Time: 3 minutes กำจัดอยู่ในตระกูลเดียวกับมะแขว่น เครื่องพริกลาบตัวสำคัญที่คนภาคเหนือรู้จักดี รวมทั้งฮวาเจีย ซึ่งคือตัวการให้รสเผ็ดซ่าชาลิ้นใน “หมาล่า” นั่นเอง เม็ดกำจัดใหญ่กว่ามะแขว่น แต่รสอ่อนเบากว่า เจือกลิ่นหอมอมเปรี้ยวคล้ายเปลือกส้มมากกว่ามะแขว่นและฮวาเจีย 

กฤช เหลือลมัย
Human & Society

เกลือสามบ่อ คนสามบ้านในหุบเขาเมืองนครไทย

Reading Time: 4 minutes ช่วงห้าหกปีมานี้ กฤช เหลือลมัย เกิดมาสนใจ และมีโอกาสได้ไปดูการทำเกลือแบบขูดดินเอียดไปเกรอะกรองน้ำเค็มต้มกระบะโลหะในเขตอีสานตอนล่างและตอนกลาง เลยเริ่มมองเกลือสินเธาว์ต่างไปจากสมัยเด็กๆ แถมเมื่อสองสามปีก่อนนี้เองครับ ที่ได้รู้จักแหล่งต้มเกลือสินเธาว์ในเขตหุบเขาเมืองนครไทย พิษณุโลก ทำให้เห็นชัดว่า เรื่องราวเบื้องหลังรสเค็มของเกลือเม็ดขาวๆ นั้น ประกอบสร้างขึ้นด้วยวัตถุ แรงงาน ลมฟ้าอากาศ ตลอดจนชะตากรรม และความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมอาหาร โดยมีมนุษย์เป็นผู้กำหนดและกระทำการอย่างน่าสนใจยิ่ง

กฤช เหลือลมัย