News
‘คิวผี’ มีอยู่จริง! สองล้านคนเสี่ยงผิดกฎหมายจากผลพวงมติครม.
Reading Time: 4 minutes แรงงานกว่า 2.39 ล้านคนกำลังจะผิดกฎหมาย มติครม.วันที่ 24 กันยายน 2567 กำลังจะพาประเทศไทยเจอช่องโหว่งทางเศรษฐกิจ และฝันที่ว่าทุกคนถูกกฎหมาย อาจไม่มีจริง?
Reading Time: 4 minutes แรงงานกว่า 2.39 ล้านคนกำลังจะผิดกฎหมาย มติครม.วันที่ 24 กันยายน 2567 กำลังจะพาประเทศไทยเจอช่องโหว่งทางเศรษฐกิจ และฝันที่ว่าทุกคนถูกกฎหมาย อาจไม่มีจริง?
Reading Time: 3 minutes มุมหนึ่งของงาน Friday Night Rights: Why Our Movement Matters ซึ่งจัดโดย Amnesty International Thailand เราเจอพื้นที่เล็ก ๆ ที่จะได้รู้เพิ่มว่าทำไมเราควรแคร์และเข้าใจพลังของการขับเคลื่อนเพื่อเป้าหมายการเคารพกันและกัน เห็นต่างแต่อยู่ด้วยกันได้
Reading Time: 2 minutes นักกิจกรรมที่เดินทางมาจากทั่วทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ร่วมเสวนาในหัวข้อ “When Children Defend Human Rights: Thailand’s Response?” เมื่อเยาวชนลุกขึ้นมาปกป้องสิทธิและรัฐปกป้องใคร” เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2563 ที่ผ่านมา พร้อมเปิดกล่องรับไอเดียส่งให้องค์กรเด็กอย่างยูนิเซฟไม่ให้เพิกเฉยต่อการคุกคามเด็กและเยาวชนที่กำลังเกิดขึ้น
Reading Time: 2 minutes Decode ชวน ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ มาร่วมถอดรหัสถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับเมือง ว่าบริบทเมืองที่เปลี่ยนไปส่งผลต่อการเคลื่อนย้ายที่อยู่ของคนอย่างไร อะไรเป็นเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้การเลือกตั้งท้องถิ่นในครั้งนี้ดูจะไม่ได้เป็นที่สนใจในหมู่คนรุ่นใหม่ และแนวทางในการจัดการคนในเมืองแบบไหนถึงจะเหมาะสมกับสภาพเมืองที่กำลังเปลี่ยนไป
Reading Time: 3 minutes ฟังเสียง “เด็กพลัดถิ่น” หรือผู้ที่เข้ามาหาโอกาสในเมืองหลวง ว่าสิทธิบนพื้นที่ใดที่พวกเขาควรถือครองเพื่อกำหนดชะตาชีวิต ระหว่างสิทธิตามถิ่นฐานบ้านเกิด หรือสิทธิตามพื้นที่อาศัย ผ่านการเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งนี้ และร่วมออกแบบกาเลือกตั้งในอนาคต ว่าทำอย่างไรถึงจะไม่ทอดทิ้งเด็กไกลบ้าน
Reading Time: 3 minutes ซีรีย์ “กรรมกรดิจิทัล” นำเสนอประเด็นของคนงานกิ๊กในภาพรวม ความแตกต่างจากงานฟรีแลนซ์ รวมถึงปัญหาระหว่างการทำงานของไรเดอร์จนนำไปสู่การรวมกลุ่มแล้ว
Reading Time: 2 minutes Decode สรุปความจากวงเสวนา ‘พลเมืองประชาธิปไตยและพลังขับเคลื่อนสังคมของเยาวชน (Democratic Citizens and Civic Engagement of the Youth)’ ช่วงที่ 2 นิเวศการเรียนรู้ความเป็นพลเมือง ซึ่งจัดขึ้นโดย มูลนิธิการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองไทย (Thai Civic Education Foundation ร่วมกันกับภาคีเครือข่าย เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Reading Time: 2 minutes เวทีเสวนา “พลเมือง ประชาธิปไตย และความเป็นธรรมทางสังคม” ที่จัดขึ้นกลางเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา นิ้ง-ธญานี เจริญกูล กลุ่มนักเรียนเลว และ มายมิ้น-ศุกรียา วรรณายุวัฒน์ นิสิตคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตอบเปิดเวทีในทิศทางเดียวกันว่า ความเป็นธรรมคือการที่ทุกคนมีสิทธิ์เท่ากัน ขณะเดียวกันก็ได้รับการคุ้มครองสิทธิ์นั้นเช่นกัน ทั้งสองร่วมเวทีท่ามกลาง “ครู” ในโรงเรียน และมหาวิทยาลัย
Reading Time: 4 minutes “ถ้าเหมืองมันเกิด มีหลุมขนาดใหญ่ มีเสียงระเบิดวันละ 2 ครั้ง ฝุ่นฟุ้งกระจาย น้ำใช้ไม่ได้ พืชพรรณอาบไปด้วยฝุ่นจากเหมือง น้ำกินไม่ได้ ใช้ไม่ได้ หายใจก็ปเปื้อนฝุ่นละออง พวกโลหะหนักในอากาศ “มันอยู่ไม่ได้”
Reading Time: 2 minutes “ไรเดอร์” เข้าพบคณะที่ปรึกษารัฐมนตรีกระทรวงแรงงาน และตัวแทนจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน เพื่อยื่นหนังสือ และเรียกร้องสิทธิ์การคุ้มครองสวัสดิการการทำงานผ่านระบบแพลตฟอร์มที่ตอนนี้ยังไม่มีการดูและและคุ้มครองที่เป็นธรรม โดยเฉพาะในทางกฎหมาย
Reading Time: < 1 minute Decode.plus เปิดรับสมัครนักเขียนสกิลนักข่าว ผู้อยากเปลี่ยนแปลงสังคมในช่วงเปลี่ยนผ่านด้วยการเขียน
Reading Time: 4 minutes อาจจะถึงเวลาแล้วที่เราทั้งสังคมต้องตั้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น ว่าภายใต้ดีกรีความโกรธที่ทะลุปรอทแตกของนักเรียนไทย แท้จริงแล้วพวกเขากำลังเผชิญหน้ากับสิ่งใดในพื้นที่(เคย)ปลอดภัยอย่างโรงเรียน Decode เดินทางไปยังโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อพูดคุยกับ เอ๋-วารุณี ทองอุ่น ผู้ก่อตั้งกลุ่ม บร.ไม่ง้อเผด็จการ หนึ่งในแนวร่วมกลุ่ม sisterhood ที่ขับเคลื่อนประเด็นสิทธิเสรีภาพของนักเรียนหญิงและกลุ่ม LGBTQI เอ๋ย้อนให้เราฟังถึงอะไรคือสิ่งที่ ‘นักเรียนหญิงไทย’ รวมไปถึง ‘ลูกสาวไทย’ ในวันนี้ต้องเจอ และความโกรธจากการโดนละเมิดสิทธิ์จุดประกายอะไรในตัวพวกเธอ พร้อมทั้งมองไปหาอนาคตที่รอบนี้พวกเธอขอเป็นคนกำหนดเองว่า โรงเรียนในฝันของนักเรียนสมัยนี้ควรเป็นอย่างไร
Reading Time: 2 minutes ของเถื่อน คือ อะไร? ของเถื่อนที่เราว่านั้น มันคือประเด็นใต้ดิน ประเด็นที่สังคมไทย “ปากว่าตาขยิบ” ตั้งแต่เรื่องทำแท้ง พนักงานขายบริการ ไปจนกระทั่งการพูดถึงรสชาติเครื่องดื่มบางชนิด วันนี้ในการชุมนุมหลาย ๆ ครั้ง ประเด็นข้างเคียงข้อเรียกร้องบนเวทีเรายังเห็นประเด็นเหล่านี้ที่คนรุ่นใหม่ต้องการทำให้ดีขึ้นในเชิงกฎหมาย หรือทำให้มันถูกกฎหมาย (Legalise) เพื่อที่ว่าทุกที่อยู่แวดล้อมในวงนี้…จะได้รับสิทธิ์การคุ้มครองอย่างเต็มที่ ของเถื่อน 01: Sex Worker “สิ่งที่ยากที่สุดในการต่อสู้เรื่องนี้คือการสู้กับความเชื่อของคนที่เชื่อว่างานนี้เป็นการลดทอนศักดิ์ศรี ซึ่งไม่ใช่ศักดิ์ของคนทำงาน แต่คือศักดิ์ศรีภาพรวมของประเทศ เราต้องการให้เข้าใจสิทธิความเป็นมนุษย์มากกว่าการรักษาภาพลักษณ์ของประเทศ ประเทศของเรายังอยู่ในกรอบผู้หญิงดี ถ้าเราพ้นกรอบนี้มาได้ประเด็นการต่อสู้ของเราน่าจะรอด” ชัชลาวัณย์ เมืองจันทร์ ตัวแทนกลุ่ม sex worker บอกเล่าถึงความต้องการที่อยากเห็นอาชีพนี้และคนในสังคมมีส่วนร่วมลงชื่อเสนอร่างยกเลิก พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2539 จำนวน 10,000 รายชื่อ เพื่อให้งานขายบริการไม่ผิดกฎหมาย จากอยู่ใต้พรมเป็นขึ้นมามีสิทธิเท่าเทียมกับแรงงานคนอื่น ๆ นายจ้างจะได้ไม่เอาเปรียบ ไม่เอาเงินไปหักส่วย ไม่ถูกล่อซื้อ ไม่ต้องถูกจับ ซึ่งทุกวันนี้ยังมีการล่อซื้ออยู่แต่ไม่มีข่าวให้เห็นมากนัก ส่วนใหญ่พวกเขาทำงานที่ บาร์ คาราโอเกะ และอาบอบนวด มีทั้งคนไทยและคนต่างชาติ รวมกลุ่มกันมากว่า 20 ปีแล้ว […]