Columnist Archives - Page 23 of 37 - Decode

TAG Columnist
Lorem ipsum dolor sit amet.

Columnist

ทำไมคนไทยส่วนหนึ่งถึงเห็นใจนายทุน เจ้าสัว เมื่อเกิดการเรียกร้องสิทธิแรงงาน

Reading Time: < 1 minute อำนาจและอิทธิพลของแต่ละกลุ่มมีไม่เท่ากัน แต่คำถามสำคัญคือเหตุใดเมื่อกลุ่มคนที่มีปริมาณเยอะที่สุดคือกลุ่มคนที่มีรายได้ 13,000 เริ่มมีปัญหากับคนที่มีรายได้ 300,000 กลุ่มคนที่มีรายได้ 30,000 ซึ่งนับว่าเป็นกลุ่มที่มีรายได้ใกล้เคียงกับคนที่มีรายได้ 13,000 เหตุใดจึงมีแนวโน้มที่จะเห็นใจคนที่มีรายได้ 300,000 มากกว่าการรวมตัวกันกับกลุ่มที่มีรายได้ 13,000 เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม

Columnist

ความน่าจะแมว ไร้ความว่างเปล่า

Reading Time: 3 minutes ไม่ง่ายเท่าไรที่จะชวนคนไม่รักแมว ไม่ชอบแมวมาอ่าน แต่พอคนที่รักแมวหรือมีประสบการณ์ร่วมเรื่องแมว ๆ เช่นเรา ก็พุ่งเข้าไปหาทันทีที่เห็นปกหนังสือวางอยู่บนชั้น แถมยังจั่วเล็ก ๆ ด้วยว่าเป็น best seller of the cat planet มีแอบกวนตามสไตล์ ของผู้เขียน (องอาจ ชัยชาญชีพ) ใช่ ๆ ๆ ๆ คนนั้นแหละ

จันจิรา ทาใบยา
Columnist

อนาคตของงานยังมี “คนงาน” อยู่ในสมการ ?

Reading Time: 2 minutes แกะรอย “อนาคตของงาน” จ้างงานอย่างไรให้คนงานมีส่วนร่วม และนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยมีความเที่ยงธรรมมากได้อย่างไรบ้าง

ดร.เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร
Columnist

ถึงชนชั้นปกครอง “พวกเราไม่ได้เป็นปีศาจร้าย” ความเจ็บปวดของคนหนุ่มสาวที่กำลังอกหัก เพราะรัก “รัฐสวัสดิการถ้วนหน้า”

Reading Time: 3 minutes ปี 2563 เป็นปีที่กระแสรัฐสวัสดิการถูกพูดถึงมากจากแม่สายถึงยะลา จากมหาสารคาม ถึงนครปฐม หลายคนตั้งข้อสังเกตว่ากระแสดังกล่าวจะเลือนหายไปในปี 2564 แต่เป็นที่น่าสนใจมากว่าในช่วงสามเดือนแรกของปีกระแสนี้กลับเพิ่มสูงมากขึ้น และอยู่ในทุกขบวนการ ข้ามช่องว่างระหว่างวัย ข้ามประเด็นเมืองและชนบท ข้ามประเด็นนักวิชาการกับทฤษฎีและประชาชนในพื้นที่ รัฐสวัสดิการกลายเป็นประเด็นที่เชื่อมร้อยผู้คนเข้าไว้ด้วยกันอย่างมาก

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Columnist

ความเดียวดาย…โอบกอดมนุษย์ลูก

Reading Time: 2 minutes คำถามที่สร้างบรรยากาศความอ้างว้างในจิตใจอย่างบอกไม่ถูก ระหว่างการเวิร์กช็อปสอนเขียนของพี่แหม่ม-วีรพร นิติประภา มนุษย์แม่ท่านหนึ่งผู้เป็นนักเขียนดับเบิลซีไรต์ ตั้งคำถามเพื่อให้ผู้ร่วมวงแต่ละคนบอกเล่าถึงสิ่งที่ ‘กัดกิน’ พวกเขา

ณัฏฐวุฒิ ลอยสา
Columnist

พิพากษาคนหนุ่มสาว

Reading Time: 2 minutes หนัง The Trial of the Chicago 7 โฟกัสการพิจารณาคดีในศาลหลังจากแกนนำ 7 คนถูกอัยการส่งฟ้องข้อหาก่อการจลาจลสร้างความวุ่นวายในสังคม ความเข้มข้นของหนัง จึงไม่ได้อยู่ที่ฉากการประท้วงบนท้องถนน แต่อยู่ที่การต่อสู้คดีในศาล เมื่อผู้ต้องหาเผชิญหน้ากับอคติของผู้พิพากษา และความพยายามของรัฐที่จ้องใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือควบคุมประชาชน

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Columnist

เก้าอี้ดนตรี: การแข่งขันอันมืดบอด

Reading Time: < 1 minute โลกสมัยใหม่ต้องการอะไร? เมื่อสังคมของเรามันก็เป็นแบบนี้มานานแล้ว…คุณปลอบ ใคร ๆ ก็บอกอย่างนั้น โลกที่มีเก้าอี้มากมายเหลือเกินที่ต้องแย่งชิง

วีรพร นิติประภา
Columnist

บอกลาความสูงส่ง – แตกต่าง เมื่อมนุษย์เป็นเพียงหุ่นฟาง จาก…อำลามนุษยนิยม

Reading Time: 2 minutes เมื่อมนุษย์…เป็นเพียงส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ไร้ซึ่งความสลักสำคัญใดๆ เสมือน ‘หุ่นฟาง’ ที่หลังจากถูกใช้ในการทำพิธีกรรมต่างๆ เมื่อถึงเวลาหนึ่งก็จะถูกเผาทิ้ง

พลอยธิดา เกตุแก้ว
Columnist

เลิกจ้างเพราะเห็นต่างทางการเมือง ห้องขังที่มองไม่เห็นจากวัฒนธรรมอำนาจนิยมในองค์กร

Reading Time: 2 minutes อำนาจนิยมในองค์กรเป็นมือไม้สำคัญ กับอำนาจเผด็จการของการเมืองในระดับประเทศ เป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้ผู้คนต้องแยกชีวิตการทำงาน ชีวิตครอบครัว และการต่อสู้ทางการเมืองออกจากกัน และการที่ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่ระบบแรงงานสัมพันธ์และการรวมตัวในลักษณะสหภาพอยู่ในระดับต่ำผู้คนไม่คุ้นเคยกับการต่อสู้ต่อรองเพื่ออำนาจประชาธิปไตยในองค์กร

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Columnist

เสรีภาพไม่มี คนตาดีไม่ปรากฎ (นอก)ดินแดนคนตาบอด

Reading Time: 3 minutes ถ้าการมองเห็น และถูกมองเห็นมันสลักสำคัญ จะตาบอดหรือตาดีก็มีความหมายในสถานการณ์ที่แหลมคมระหว่างการเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยของไทย คงไม่มีใครอยากมีจุดจบแบบ “หุบเขาคนตาบอด”

ภัทราภรณ์ ศรีทองแท้
Columnist

ตอบแสงตะวันว่าครั้งนึงเราเคยโรมานซ์

Reading Time: 2 minutes ความเรียงในวันที่ชีวิต “เคลื่อน” ออกไปจากคอกรั้วและชวนนั่งเครื่องบินไปดูด้วยตาว่าไม่มีเทวดาลอยอยู่บนก้อนเมฆของวรพจน์ พันธุ์พงศ์

อรพิน ลิลิตวิศิษฎ์วงศ์