Welfare state Archives - Decode

CATEGORY Welfare state
Lorem ipsum dolor sit amet.

Welfare state

เมืองยั่งยืนที่เป็นธรรม

Reading Time: 2 minutes หากละเลยมิติด้านความเป็นธรรมแล้ว แนวคิดเมืองยั่งยืนมีความเสี่ยงไม่น้อยที่จะซ้ำเติมความเหลื่อมล้ำทางสังคม ปัจจุบันเราเห็นความเหลื่อมล้ำที่แสดงออกผ่านมิติทางชนชั้น เช่น คนรวยมีบ้านหรูพื้นที่กว้างขวาง สะดวกสบายต่างกับคนจนที่เช่าห้องเล็กๆ อยู่ในชุมชนแออัด

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Welfare state

อัณฑะที่มองไม่เห็น

Reading Time: < 1 minute มันเป็นความใหญ่โตผิดปกติ เขานั่งพูดคนเดียว บางครั้งโวยวาย ที่หลับที่นอนคือฟุตบาทปูนหยาบ เมื่อร่างกายเริ่มผิดปกติ เขาเริ่มเดินไม่ได้ อ่อนเพลีย สีหน้าบ่งบอกความเจ็บปวดชัดเจน คนแถวนั้นพยายามแจ้งเรื่องเข้าไปหลายหน่วยงานเพื่อขอความช่วยเหลือ แต่ไม่มีหน่วยงานไหนให้ความช่วยเหลือได้เลย

สิทธิพล ชูประจง
Welfare state

ถอดรหัสความล้มเหลวของรัฐสวัสดิการไทยในเลนส์ของ Acemoglu ‘Why Nations Fail’

Reading Time: < 1 minute Acemoglu กับ Johnson เป็นอาจารย์อยู่ที่ MIT ส่วน Robinson เป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยที่มหาวิทยาลัยชิคาโก เขาเชี่ยวชาญเรื่องเศรษฐกิจแอฟริกาและละตินอเมริกาเป็นพิเศษ เมื่อปี 2012 Acemoglu จับมือกับ Robinson เขียนหนังสือชื่อ “ทำไมบางชาติถึงล้มเหลว” (Why Nations Fail) ที่พยายามไขปริศนาว่าทำไมบางประเทศถึงรวย ในขณะที่บางประเทศยากจนแสนเข็ญ อันเป็นสิ่งที่ผู้คนตั้งคำถามกันมาหลายศตวรรษ ภูมิประเทศ ทรัพยากร ศาสนา ชาติพันธุ์  กองทัพ ความสามารถของผู้นำ ?  

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Welfare state

เมืองที่เป็นธรรม

Reading Time: 4 minutes เป็นอย่างไร แต่ไม่ได้แปลงสู่รูปธรรมหรือระดับนโยบาย ส่วนนักสังคมศาสตร์ซึ่งก็เรียกร้องหาความยุติธรรมทางสังคม แต่ไม่ได้ถกเถียงอย่างจริงจังว่า ความยุติธรรมคืออะไร ส่วนนักผังเมือง (urban planners) ยิ่งหนักเข้าไปอีกเพราะไม่ค่อยสนใจเรื่องความยุติธรรม ไม่ตั้งคำถามว่า การวางแผนพัฒนาเมืองนำไปสู่ความเป็นธรรม หรือขยายความเหลื่อมล้ำมากขึ้น

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Welfare state

ความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน : ชวนอ่านวิทยานิพนธ์ว่าด้วยความรักในโลกเหลื่อมล้ำ

Reading Time: < 1 minute ความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน เป็นประเด็นที่ถูกตั้งในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ แต่คำถามง่าย ๆ คือ แต่ละคนสามารถรักษาความรักได้เท่า ๆ กันหรือไม่ หรือในอีกทางหนึ่งผู้คนที่มีประสบการณ์ที่หลากหลายแตกต่างกัน พื้นหลังทางเศรษฐกิจสังคมแตกต่างกันจะนิยามความรักเหมือนกันหรือไม่ เป็นคำถามที่มนุษย์ถามกันมาหลายศตวรรษ ทั้งในประวัติศาสตร์ บทกวี บทเพลงที่เราต่างเพียรถามกันว่า “รักคืออะไร” ในงานวิจัยนี้ได้ฉายภาพให้เห็นว่า สำหรับอารยธรรมของมนุษย์ นิยามความรักแบบทางการในแต่ละยุคสมัยก็มีความแตกต่างกัน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Welfare state

บัตรทองทุกที่ ‘ครอบคลุม’ ทุกหนี้โรงพยาบาล?

Reading Time: 3 minutes จาก 30 บาทรักษาทุกโรค สู่ “30 บาทรักษาทุกที่” ชวนคนในแวดวงสาธารณสุขเช็คอาการทางสังคม ความจริงที่ยังซุกซ่อนอยู่ในระบบหลักประกันสุขภาพพร้อม ๆกับการตรวจสุขภาพทางการเงินของโรงพยาบาล ความท้าทายสำคัญที่สปสช. ต้องดำเนินการควบคู่ไปกับการป้องกันโรค

ณัฐณิชา มีนาภา
Welfare state

อย่าปล่อยให้คนแพ้ต้องดูแลตัวเอง ในเมื่อไม่มีใครดูแลตัวเองได้ตลอด

Reading Time: 2 minutes การผูกงานเข้ากับมูลค่านั้นเป็นผลิตผลสำคัญของระบบทุนนิยม กล่าวอีกอย่างก็คือ กิจกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจเท่านั้นที่จะถูกว่าเป็น “งาน” ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวก็ทำให้คนที่มีส่วนสร้างมูลค่ากลายมาเป็น “คนทำงาน” ส่วนคนอื่น ๆ นั้นไม่ได้ทำงานเพราะพวกเขาไม่ได้สร้างมูลค่าแต่อย่างใด ผลผลิตของการผูกงานเข้ากับมูลค่าจึงทำให้มีคนจำนวนหนึ่งที่ไม่ได้ทำงาน เพราะพวกเขาทำกิจกรรมอื่น ๆ ที่ไม่ได้นำไปสู่หรือไม่ได้กำลังสร้างมูลค่า แม้ว่าพวกเขาจะทำกิจกรรมนั้น ๆ จนตัวตาย พวกเขาก็ไม่ได้ถูกนับว่าทำงาน … หลาย ๆ ครั้ง ผู้ดูแลซึ่งหารายได้ไม่ได้ เพราะเขาไม่มีโอกาสออกไปหารายได้นอกบ้านก็ถูกมองว่าเป็นภาระของสังคม

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
Welfare state

รู้จักแนวคิดประกันสังคมถ้วนหน้า : ก้าวสำคัญสู่รัฐสวัสดิการ

Reading Time: < 1 minute คอลัมน์ประกายไฟลามทุ่งฉบับนี้ พูดถึงแนวคิดเรื่องประกันสังคมตามบริบทความเข้าใจของสังคมไทย ถูกมองว่าเป็นกระบวนการสร้างสวัสดิการผ่านระบบการ สมทบแบบไตรภาคี เป็นเงินส่วนที่ นายจ้าง ผู้ประกันตน และฝ่ายรัฐ ซึ่งนับว่าเป็นการพิจารณารูปแบบการประกันสังคมในรูปแบบหนึ่งเท่านั้น

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Welfare state

ยุคสมัยที่กำลังจะมาถึง…โลกของคนที่เกิดหลัง 2553 สดุดีชีวิตและความยุติธรรม อำลา ‘ปัจเจกนิยม’

Reading Time: < 1 minute เราอาจมองย้อนไปว่าคนที่กำลังจะเป็นคนรุ่นใหม่ต่อไปอีกในอนาคต ก็คือคนที่เกิดหลังปี 2553 ซึ่งตอนนี้ส่วนมากกำลังอยู่ในระดับชั้นมัธยมต้น ผมเองไม่อาจสามารถสรุปคุณค่าของวันพรุ่งนี้ได้ แต่มีเรื่องสำคัญที่เราเองอาจพอวิเคราะห์ได้ว่า ความคาดหมายและมุมมองของเขาต่อโลกได้ดังนี้

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Welfare state

‘ตุ๊กการช่าง’ สูงวัยนอกระบบยัง’รอซ่อม’ ของช่างซ่อมพัดลมตลอดชีพ

Reading Time: 5 minutes ชีวิตที่ไร้วันเกษียณของช่างตุ๊ก ช่างซ่อมพัดลมตลอดชีวิต กับภาพสะท้อนการจัดการสังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ที่ความเหงาและความจนของช่างตุ๊กเป็นเครื่องยืนยัน ว่าสังคมไทยยังคงทำใครต่อใครหล่นหายด้วยความเหลื่อมล้ำนี้

นทธร เกตุชู
Welfare state

ไร้รากเหง้า

Reading Time: < 1 minute ตัวตน ณ ที่แห่งหนึ่งของ เอแรมโบ้ เมื่อรัฐผลักให้เขาและเธอที่ไร้บ้าน กลายเป็นคนที่ไร้ตัวตนและไร้รากเหง้าไปด้วย

สิทธิพล ชูประจง
Welfare state

60’bar การปรากฏตัวของความเหงากับคุณค่าที่เหลืออยู่ของคนสูงวัย

Reading Time: 3 minutes เงิน แต่คือเรื่องของความสัมพันธ์และการมีสังคมผ่านสถานที่อย่าง 60’bar บาร์ที่เกิดขึ้นมาบนความเชื่อที่ว่าสถานเริงรมย์บันเทิงใจ ไม่จำเป็นต้องจำกัดไว้สำหรับคนวัยหนุ่มสาวเพียงอย่างเดียว

ณฐาภพ สังเกตุ