ความเหลื่อมล้ำ Archives - Decode

TAG ความเหลื่อมล้ำ
Lorem ipsum dolor sit amet.

Welfare state

ถอดรหัสความล้มเหลวของรัฐสวัสดิการไทยในเลนส์ของ Acemoglu ‘Why Nations Fail’

Reading Time: < 1 minute Acemoglu กับ Johnson เป็นอาจารย์อยู่ที่ MIT ส่วน Robinson เป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยที่มหาวิทยาลัยชิคาโก เขาเชี่ยวชาญเรื่องเศรษฐกิจแอฟริกาและละตินอเมริกาเป็นพิเศษ เมื่อปี 2012 Acemoglu จับมือกับ Robinson เขียนหนังสือชื่อ “ทำไมบางชาติถึงล้มเหลว” (Why Nations Fail) ที่พยายามไขปริศนาว่าทำไมบางประเทศถึงรวย ในขณะที่บางประเทศยากจนแสนเข็ญ อันเป็นสิ่งที่ผู้คนตั้งคำถามกันมาหลายศตวรรษ ภูมิประเทศ ทรัพยากร ศาสนา ชาติพันธุ์  กองทัพ ความสามารถของผู้นำ ?  

ความเหลื่อมล้ำ

ถอดรหัสความล้มเหลวของรัฐสวัสดิการไทยในเลนส์ของ Acemoglu ‘Why Nations Fail’

Reading Time: < 1 minute Acemoglu กับ Johnson เป็นอาจารย์อยู่ที่ MIT ส่วน Robinson เป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยที่มหาวิทยาลัยชิคาโก เขาเชี่ยวชาญเรื่องเศรษฐกิจแอฟริกาและละตินอเมริกาเป็นพิเศษ เมื่อปี 2012 Acemoglu จับมือกับ Robinson เขียนหนังสือชื่อ “ทำไมบางชาติถึงล้มเหลว” (Why Nations Fail) ที่พยายามไขปริศนาว่าทำไมบางประเทศถึงรวย ในขณะที่บางประเทศยากจนแสนเข็ญ อันเป็นสิ่งที่ผู้คนตั้งคำถามกันมาหลายศตวรรษ ภูมิประเทศ ทรัพยากร ศาสนา ชาติพันธุ์  กองทัพ ความสามารถของผู้นำ ?  

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ความเหลื่อมล้ำ

ไฟอีสานและความขำขื่น

Reading Time: 2 minutes เลือกหยิบเล่มนี้มาเล่าเคล้าความขำขื่นเพราะสำหรับเราแล้ว คนอีสานคือคนบ่ย่าน อำนาจใหญ่แค่ไหนก็บ่หยั่น สู้ได้สู้ ความขำขันทำให้ความตึงเครียดคลายลง อย่างน้อยก็ในช่วงเวลาที่กรามขยับ หลังจากนั้นก็สู้ต่อ

วิภาพร วัฒนวิทย์
ความเหลื่อมล้ำ

งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลทุกข์

Reading Time: 2 minutes เก่งกิจ กิติเรียงลาภ เล่าถึงสังคมที่ผู้คนขยันทำงานกันอย่างมาก และ “งานคือเงิน เงินคืองาน” นั้นกลับทำให้เงินและงานไม่ค่อย “บันดาลสุข” มากนัก งานกลับกลายเป็นแหล่งที่มาของความทุกข์มากกว่าความสุข ยกเว้นช่วงสัปดาห์แรกของเงินเดือนออกที่เราอาจจะมีความสุขมากหน่อย

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
ความเหลื่อมล้ำ

วงจรอุบาทว์ยากจนเริ่มต้นที่ระบบการศึกษา

Reading Time: < 1 minute หลังวิกฤตโควิด มีเยาวชน’หลุด’ออกจากระบบการศึกษาทันทีราวๆ สองแสนคน
ในจำนวนนี้มีคนหนุ่มสาวน้อยมากที่สามารถระเกียกตะกายกลับเข้าระบบการศึกษาได้อีก หากไม่ได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
ความยากจนทำให้ประชากรของเราไม่สามารถรับมือกับ’อุบัติเหตุ’ของโลกได้มากไปกว่าแล่เนื้อเถือหนังตัวเองเอาชีวิตรอด หลายครอบครัวจำเป็นต้องเลือกส่งแค่ลูกคนใดคนหนึ่งเรียน เพราะไม่มีรายได้มากพอจะสามารถส่งเสียลูกๆ ได้ทุกคน และจะเลือกส่งเฉพาะลูกคนที่’หัวดี’หรือเรียนได้คะแนนดีพอ ซึ่งในแง่เศรษฐศาสตร์คือเป็นการลงทุนที่คุ้มความเสี่ยงกว่า

วีรพร นิติประภา
ความเหลื่อมล้ำ

ทลายช่องว่าง 1% เราจะใกล้กันมากขึ้นในสังคมรัฐสวัสดิการ

Reading Time: 2 minutes เพียงนาทีเดียวของเจ้าสัว ก็รวยเท่ากับคนทั่วไปทำงานทั้งชีวิต “การเก็บภาษีความมั่งคั่ง” จึงเป็นหนทางที่จะลดความเหลื่อมล้ำและสร้างรัฐสวัสดิการให้เกิดขึ้นจริง

ธเนศ แสงทองศรีกมล
ความเหลื่อมล้ำ

วัยเลขเจ็ดของ ‘ป้าสาย’ ไม่เคยสบายเลยสักครั้ง

Reading Time: 2 minutes หญิงสูงวัย ที่ตัวเลขบอกอายุขึ้นต้นด้วยเลขเจ็ด ผมสีผมเป็นสีขาวไม่มีสีอื่นแซม รูปร่างผอมมักสวมผ้าถุง ใส่เสื้อผ้าเนื้อเบามีระบายลูกไม้สมวัย นาน ๆ ที จะเห็นป้าสายใส่เสื้อยืดสกรีนชื่อชุมชนทำให้ป้าดูสดใสอ่อนกว่าวัยขึ้นเป็นสิบปี ด้วยวัยขนาดนี้เวลาไปไหนมาไหน ผมจึงเห็นป้าต้องเดินโขยกเขยกโดยมีไม้เท้าช่วยประคอง แต่ถึงกระนั้น ป้าก็ยังทำงานหาเลี้ยงตัวเองอยู่

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
ความเหลื่อมล้ำ

หน้าที่ของชุมชนแออัดในสังคมเหลื่อมล้ำ

Reading Time: 3 minutes แทนที่จะมองว่าชุมชนแออัด เป็นพื้นที่อันน่ารังเกียจของเมือง ควรมองเสียใหม่ว่า หากไม่มีชุมชนแออัด คนมีรายได้น้อยต้องกลายเป็นคนไร้บ้านข้างถนน ชีวิตเมืองจะยิ่งไม่น่าดูชมกว่าที่เป็นอยู่ตอนนี้

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
ความเหลื่อมล้ำ

Care Income: งานดูแลทุกข์สุขคนในบ้านต้องมีค่าตอบแทน และถูกคิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ

Reading Time: 2 minutes วงเสวนา “การเริ่มต้นบทสนทนาเรื่อง CARE INCOME คุณค่าและค่าตอบแทนงานของแม่และคนทำงานดูแล” ซึ่งมีการพูดถึงและอยากให้สังคมมีการผลักดันให้ “คนทำงานดูแล” มีค่าตอบแทน มีรัฐสวัสดิการ เพราะนี่ก็ถือ “เป็นการงาน” เช่นกัน ซึ่งที่ผ่านมาในปีประเทศไทยเคยลงนามในปฏิญญาและแผนปฏิบัติเพื่อความก้าวหน้าของสตรีเมื่อปี 2538 ซึ่งระบุว่า ต้องคิดมูลค่าเศรษฐกิจของงานดูแลบ้านที่ผู้หญิงทำด้วย แต่จนถึงทุกวันนี้ ยังไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
ความเหลื่อมล้ำ

มายาคติ ‘ความสำเร็จ’

Reading Time: 2 minutes เริ่มจากแค่ว่า ทุกคนมีโอกาสที่เท่าเทียมกันในการก้าวจากดินสู่ดาวจริงหรือไม่ ข้อเท็จจริงที่แซนเดลชี้ให้เห็น (ซึ่งนักการศึกษาจำนวนมากก็ชี้ให้เห็นมานานแล้ว) นั้นตรงกันข้าม ข้อมูลชี้ว่านักศึกษาที่เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยชั้นนำในสหรัฐฯ นั้นส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยกว่าค่าเฉลี่ยของสังคม และยิ่งนานวันเข้าสัดส่วนของเด็กจากครอบครัวที่ยากจนก็ฝ่าฟันเข้าเรียนมหาวิทยาลัยชั้นนำได้น้อยลงไปเรื่อย ๆ

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
ความเหลื่อมล้ำ

สวัสดิการ(HPV)ล่องหน หลายพันคนล้มตายเหมือนใบไม้ร่วง

Reading Time: 2 minutes ไขรหัสการเข้าถึงวัคซีนป้องกัน HPV กับ ศาสตราจารย์ น.พ.ภิเศก ลุมพิกานนท์ อดีตประธานราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย และ กรกนก คำตา นักกิจกรรมสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ และความเป็นธรรมทางเพศ พร้อมตั้งคำถามร่วมกันว่า ในขณะที่วันเวลาล่วงเลยผ่านไปแต่ทำไมเรายังแก้ไขปัญหามะเร็งปากมดลูกกันไม่ได้สักที

ณัฐพร เทพานนท์
ความเหลื่อมล้ำ

ธุรกิจแฝงแชร์ลูกโซ่ที่ไม่เลือนหายไป เพียงเพราะฝันอยากจะ ‘รวย’

Reading Time: 2 minutes เมื่อหลักการของการทำธุรกิจเครือข่ายที่แอบแฝงรูปแบบแชร์ลูกโซ่นั้น ไม่ได้เน้นขายตัวสินค้า แต่จะเน้นหาตัวแทน

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​
ความเหลื่อมล้ำ

ทำไมคนไทยส่วนหนึ่งถึงเห็นใจนายทุน เจ้าสัว เมื่อเกิดการเรียกร้องสิทธิแรงงาน

Reading Time: < 1 minute อำนาจและอิทธิพลของแต่ละกลุ่มมีไม่เท่ากัน แต่คำถามสำคัญคือเหตุใดเมื่อกลุ่มคนที่มีปริมาณเยอะที่สุดคือกลุ่มคนที่มีรายได้ 13,000 เริ่มมีปัญหากับคนที่มีรายได้ 300,000 กลุ่มคนที่มีรายได้ 30,000 ซึ่งนับว่าเป็นกลุ่มที่มีรายได้ใกล้เคียงกับคนที่มีรายได้ 13,000 เหตุใดจึงมีแนวโน้มที่จะเห็นใจคนที่มีรายได้ 300,000 มากกว่าการรวมตัวกันกับกลุ่มที่มีรายได้ 13,000 เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี