
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Human & Society
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
Human & Society
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Human & Society
นิยายซีไรต์ในความหลัง ความหลง และความอยาก(อ่าน)ที่ถูกจริตกับคนรุ่นใหม่
Reading Time: 2 minutesฤดูประกวดซีไรต์วนเวียนกลับมาอีกครั้ง ปีนี้เป็นคิวของงานเขียนเรื่องยาวอย่างนวนิยาย แต่ดูเหมือนว่ากระแสความคึกคักแม้แต่ในแวดวงวรรณกรรมยังคงเงียบเชียบไม่แพ้สองสามปีก่อนหน้า หลายคนบอกว่าซีไรต์กลายเป็นเวทีประกวดขึ้นหิ้งที่ขาดความนิยมในปัจจุบันไปแล้ว? De/code ชวนฟังเสียงของนักอ่านและนักเขียนรุ่นใหม่ที่พูดคุยถึงความหลัง ความหลง และความอยากจะอ่านซึ่งพวกเขามีต่อนิยายซีไรต์กัน
GRID • CARD
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่นประกาศ “สู้ไม่ถอย” เตรียมกดดันรัฐบาลอีกระลอก หลัง ครม.มีมติให้เดินหน้า “อุตสาหกรรมจะนะ”
Reading Time: < 1 minuteเครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่นประกาศ “สู้ไม่ถอย” เตรียมกดดันรัฐบาลอีกระลอก หลัง ครม.มีมติให้เดินหน้า “อุตสาหกรรมจะนะ” ระหว่างทำ SEA ตั้งข้อสังเกต “รัฐอาจไม่อยากทำ SEA” ตั้งแต่แรกอยู่แล้ว จึงล่าช้ามากว่า 6 เดือน
เรียนรู้ ‘อำนาจชนชั้นนำ’ ทลายกำแพงกั้นเส้นเขตแดนประชาชน
Reading Time: 2 minutesอดีต ปัจจุบัน และอนาคตของผู้วาง “กฏเกม” ทางการเมืองในอุษาคเนย์ คำโปรยของหนังสือ “The Ruling Game : ชนชั้นนำและอำนาจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” เขียนโดย รศ.ดร. ดุลยภาค ปรีชารัชช เป็นหนังสือที่สำรวจถึงวิธีการที่ชนชั้นนำในภูมิภาคนี้ใช้อำนาจเพื่อสร้าง และรักษาอิทธิพลของตนในระดับต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม
กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ ความสำเร็จของนักดาราศาสตร์ไทย
Reading Time: < 1 minuteทันทีที่เห็นจานรูปทรงพาราโบลอยด์ขนาดใหญ่ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว่า 40 เมตร กำลังถูกช่างประกอบท่ามกลางแสงแดดจ้า ความง่วงก็ถูกกระชากหายไปแทนที่ด้วยความตื่นเต้น นั่นเพราะบุคคลากรตั้งแต่วิศวกรที่คุมไซต์ก่อสร้างไปจนถึงคนงานล้วนเป็นคนไทยทั้งหมด
GRID • LIST • PAGINATION
วาระแห่งความภาคภูมิในตัวเอง
Reading Time: 2 minutesประเทศเต็มไปด้วยคำตอบอันปราศจากคำถาม วีรพร นิติประภา มิถุนายนถูกถือว่าเป็นเดือน Pride หรือเดือนแห่งความภาคภูมิในตัวเองของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ซึ่งมีการจัดขบวนพาเหรดเดินและงานเฉลิมฉลองในหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย แต่น้อยคนจะรู้ว่างานนี้มีจุดเริ่มต้นมาจากการเรียกร้องทางการเมืองที่น่าสนใจมากครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ เรื่องทั้งหมดเริ่มจากเหตุการณ์ที่ถูกเรียกภายหลังว่า Stonewall Riots หรือจราจลสโตนวอลล์ ย่านกรีนนิชวิลเลจ ในนิวยอร์กซิตี้ วันที่ 28 เดือนมิถุนายน–3 กรกฎาคม ปี 1969 …กว่าครึ่งศตวรรษมาแล้ว การปะทะจราจลครั้งนี้ไม่ใช่ความขัดแย้งครั้งแรกระหว่างทางการอเมริกันกับกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ ในช่วงทศวรรษที่ 60s ก็มีการชุมนุมเรียกร้องของนักเคลื่อนไหว LGBT ตามหัวเมืองใหญ่ทั่วอเมริกามาตลอด พักนึกภาพตามสักนิดก่อน แรกเริ่มเดิมทีก่อนหน้าหลายพันปี การเป็นคนรักเพศเดียวกันได้รับการต่อต้านจากคริสตจักรมาตลอด ไม่เพียงแต่คนที่รักเพศเดียวกันจะถูกตราหน้าว่าเป็นคนบาป ในหลายประเทศนี่ยังเป็นเรื่องผิดกฎหมาย และมีโทษตั้งแต่จำคุกไปจนถึงประหารชีวิต (ปัจจุบันยังมีการลงโทษรุนแรงในหลายประเทศมุสลิมอยู่) จนมาถึงทศวรรษที่ 60s คนที่แสดงตัวเป็นเกย์ เลสเบี้ยน แดรกควีน ทอมบอยหรือข้ามเพศก็ยังถูกกีดกัน ทั้งโอกาสงาน การเช่าบ้าน กระทั่งการเข้าคลับ บาร์ สถานบันเทิงทั่วไป เรียกว่าเป็น ’คนนอก’ และไม่ได้รับการยอมรับจากสังคม ที่ที่คนเหล่านี้สามารถพบปะสังสรรค์กันจึงต้องเป็นบาร์เฉพาะ และบาร์เฉพาะหรือบาร์เกย์เหล่านี้ก็เป็นบาร์ใต้ดินหรือบาร์เถื่อนด้วย เนื่องจากไม่ได้รับสิทธิ์ให้จดทะเบียนดำเนินการอย่างถูกต้องตามกฎหมายมาแต่ต้น วนเป็นงูกินหาง …และบาร์สโตนวอลล์ อินที่ว่าก็เป็นหนึ่งในนั้น นิวยอร์กในเวลานั้นก็เป็นเมืองที่มีประชากรผู้มีความหลากหลายทางเพศอยู่จำนวนมาก และการที่ตำรวจจะบุกจับและปิดบาร์เถื่อนแบบนี้ก็เป็นเหตุประจำวันอยู่แล้ว ส่วนใหญ่ก็ด้วยข้อหาไม่มีใบอนุญาตขายสุรา แต่เที่ยงคืนวันที่ 28 มิถุนายนปีนั้นดูเหมือนตำรวจจะใช้ความรุนแรงกับบรรดาแขกของบาร์สโตนวอลล์เกินความจำเป็นไปสักหน่อย โดยมีการใช้กระบองตีผู้หญิงและหญิงข้ามเพศ แต่หลังจากจับคนหลายร้อยคนไปแล้ว เรื่องก็กลับไม่จบลงแค่นั้น มีผู้คนเริ่มเข้ามาชุมนุมรอบ ๆ บาร์เพิ่ม และเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จากหลักร้อยเป็นหลายพัน มีการเรียกร้องให้ผู้หลากหลายทางเพศเปิดเผยตัวตน และเข้าร่วมชุมนุม การประท้วงยืดเยื้อหลายวัน มีความรุนแรงน้อยใหญ่เกิดขึ้นประปราย และการประท้วงครั้งนั้นเป็นชนวนนำมาซึ่งการเดินขบวนประท้วงของกลุ่ม LGBT ทั่วประเทศอีกหลายครั้ง ซึ่งนำไปสู่การเรียกร้องการได้รับยอมรับในฐานะประชากรที่เท่าเทียมในทางกฎหมายทั่วอเมริกา และลามไปยังยุโรปกับประเทศอื่น ๆ ในเวลาต่อมา รายละเอียดเรื่องนี้สามารถหาอ่านได้ในวิกิพีเดียและเว็บต่าง ๆ ได้ แต่แก่นสารของเรื่องไม่ได้อยู่ที่จราจลที่นั่นวันนั้น หรือกระทั่งการต่อสู้ในเวลาต่อมา หากอยู่ที่การเปิดเผยตัวตนและปฏิเสธที่จะหลบซ่อนของคนที่มีความหลากหลายทางเพศต่างหาก และนั่นก็เป็นที่มาของคำว่าไพรด์ …การยอมรับตัวเองอย่างภาคภูมิ และหลังจากนั้นเมื่อมีการรำลึกถึงเหตุการณ์ในเวลาต่อมาจึงเรียกงานนี้ว่าไพรด์ จากคนไม่กี่คนที่มารวมตัวหน้าบาร์สโตนวอลล์ในปีถัดมา งานไพรด์ค่อย ๆ ขยายกลายมาเป็นพาเหรดประจำปีของคนนับหมื่นนับล้านตามเมืองต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อเฉลิมฉลองการเปิดเผยตัวตน เพื่อแสดงความภาคภูมิในตัวเอง เพื่อกระตุ้นให้ผู้คนมีชีวิตที่เป็นตัวเองและเลิกหลบซ่อนปิดบัง นับแต่นั้นการเป็นผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ LGBT […]
การรักษาแบบประคับประคอง : ศักดิ์ศรีในวาระสุดท้ายที่การรักษาพยาบาลประกันสังคมควรมี
Reading Time: 2 minutesสิทธิในการตายอย่างสงบ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์อย่างสุดท้ายที่รัฐจะให้ได้ ในห้วงเวลาที่การรักษาแบบประคับประคองเป็นที่พูดถึง แต่ยังติดขัด โจทย์สำคัญที่ระบบประกันสังคมต้องให้คำตอบ
นักโทษทางภูมิศาสตร์ Made by China, America First
Reading Time: 2 minutesไม่ว่าพี่เบิ้ม จะไปที่ไหน ก็มักจะเหนี่ยวรั้งตัวเองไว้ด้วยความหวาดระแวง เร้าสัญชาตญาณของแย่งชิงที่ติดตัวมาแต่ดั้งเดิม แม้ว่าจะหลุดพ้นจากโซ่ตรวนของแรงโน้มถ่วง แต่ก็ถูกจองจำด้วยภูมิศาสตร์ มันคือพันธนาการที่นิยามชาติและสามารถเป็นอะไรได้อีกในระเบียบโลกใหม่ และเป็นพันธนาการที่ผู้นำโลกอย่างจีนและอเมริกาพยายามจะดิ้นให้หลุด บางฉากจึงดำเนินต่อไปในปริศนาธรรม Wherever you go, there you are. แม้ Tim Marshall จะตั้งชื่อหนังสือ Prisoners of Geography แต่ในสำนวนแปลของ คุณากร วาณิชย์วิรุฬห์ หยั่งรากไปถึงที่ที่เราอยู่คือที่ที่หล่อหลอมเรามา ฉันนึกตลกกลับหัวกลับหาง ที่ใดมีพี่เบิ้ม ที่นั่นมักเป็นอื่น ไม่ลงรอย มันคอยกำหนดโฉมหน้าของสงคราม อำนาจ การเมือง รวมถึงพัฒนาการทางสังคมของคนกลุ่มต่าง ๆ บัดนี้พี่เบิ้มได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเกือบทุกส่วนของโลก อาจดูเหมือนว่าเทคโนโลยีเอาชนะระยะห่างระหว่างพื้นที่และเวลา ก็อย่าลืมว่า ผืนดินที่เราพำนัก ทำงาน และเลี้ยงดูลูกหลานนั้นเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมและทางเลือกของผู้นำโลกบนดาวเคราะห์สีน้ำเงิน ลิขิตชะตาชีวิตด้วยแม่น้ำ เทือกเขา ทะเลทราย ทะเลสาบ และท้องทะเล เหมือนปกหลังแห่งยุคสมัยของการขับเคี่ยวชิงดีในดินแดนอันไกลโพ้น เพราะ ที่ราบ รัสเซียจึงแข็งกร้าว เพราะ ขุนเขา จีนและอินเดียจึงบาดหมาง เพราะ […]
มะแขว่น ‘แม่ส้าน’ อวสานไร่หมุนเวียน? เมื่อไฟรวมศูนย์ลุกลาม
Reading Time: 5 minutesเรื่องราวของ ‘ไฟ’ บนดอยไร้ชื่อ ‘ต้นมะแขว่น’ ที่มากกว่าการเป็นพืช แต่คือสัญลักษณ์ของการรักษาป่า และการต่อรองของ ‘บ้านแม่ส้าน’ ที่ใช้วิจัยชาวบ้าน ยืนยันกับรัฐว่า ‘พวกเขาไม่ใช่ต้นเหตุของมลพิษ’
นักบันทึกเรื่องราว ‘จุดไม่อาจย้อนกลับ‘ ของสิ่งแวดล้อม
Reading Time: 2 minutesหรือเรากำลังบันทึกวิกฤตสิ่งแวดล้อม ที่ประชาชนต่างต้องต่อสู้ เพราะนี่อาจเป็นโอกาสสุดท้ายแล้วจริง ๆ ในฐานะคนทำข่าวที่ก้าวเท้าเข้ามาในสายอาชีพยังไม่ครบปี การทำงานสื่อสารประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมไม่เคยเป็นงานง่าย ต้องร้อยเรียงสมการได้ – เสียของคนสองฝ่าย การคัดค้านของชุมชน การพัฒนาของรัฐและนายทุน ที่แฝงไปด้วยผลประโยชน์ กฎหมาย อำนาจการเมือง รวมถึงต้องเข้าใจกลไกธรรมชาติ ระบบนิเวศที่เชื่อมโยงความหลากหลายทั้งในมิติชีวิตและวัฒนธรรม ท่ามกลางโลกที่หมุนด้วยทุนนิยมเป็นแกน การพัฒนาไม่เคยหยุดยั้ง หนังสือ Earth’s Cry ที่เขียนโดยฐิติพันธ์ พัฒนมงคล สื่อมวลชนสายสิ่งแวดล้อมและอดีตประธานชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม กระตุกต่อมความคิดให้เราเชื่อมโยงภาพพิบัติภัยและการพัฒนาที่ไร้หัวใจได้อย่างชัดเจน งานข่าวสิ่งแวดล้อมในโลกที่ไม่อาจหยุดยั้งการพัฒนาจึงต้องทำการสื่อสารเชิงลึก ชี้เหตุแห่งปัญหา โดยไม่ละทิ้งว่าต้องมีทางออกให้กับทุกผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น แต่หลายครั้งที่พบว่ากว่าจะตั้งต้นเจรจาพูดคุย เข้าใจประเด็นปัญหาและตั้งหลักแก้ไข ก็จวนตัวเกินไปเพราะสิ่งแวดล้อมถูกทำลายไปแล้วไม่มากก็น้อย ยิ่งช้า ก็เท่ากับต้องเสียเวลาฟื้นฟู และในเส้นทางของการปกป้องสิ่งแวดล้อมมักมีภาพของประชาชนนักปกป้องสิทธิลุกขึ้นมาต่อสู้ เรียกร้องสิทธิของประชาชน บทสรุปของปัญหาอาจแก้ไขสำเร็จบ้างไม่สำเร็จบ้าง และบ่อยครั้งที่พบว่า ทรัพยากรธรรมชาติจวนสิ้นลมหายใจก่อนจะถึงปลายทาง ก่อนที่เราจะตระหนักได้ว่าสิ่งแวดล้อมมาถึงจุดที่ไม่อาจย้อนกลับไปเป็นดังเดิมได้อีกแล้ว ยิ่งเมื่อได้แลกเปลี่ยนกับผู้คนที่เติบโตในช่วงยุคทองของสิ่งแวดล้อมเฟื่องฟู ยิ่งนึกภาพไม่ออกว่า อะไรเป็นจุดพลิกผันให้ข่าวสิ่งแวดล้อมกลืนกลายไปเป็นเนื้อหาท้าย ๆ ในหน้าฟีดข่าว แม้กองบรรณาธิการ ‘สายสิ่งแวดล้อม’ จะยังคงมีอยู่ แต่ก็บางเบา เสมือนมีอำนาจบางอย่างถูกบดบัง กดทับให้เงียบงัน ไม่ต่างกับสิทธิของคนที่กำลังลุกขึ้นมาปกป้อง เป็นปากเสียงให้กับสิ่งแวดล้อมที่รัฐและทุนต่างไม่ได้ยิน เรื่องบางเรื่อง อาจไม่ใช่เพราะการลงโทษของธรรมชาติ หากแต่เป็นฝีมือมนุษย์ […]
‘ฟ้องปิดปาก’ ไม่แผ่ว! หายนะทางสิ่งแวดล้อมที่ป้องกันได้ด้วยกม.และเจตจำนงทางการเมือง
Reading Time: 3 minutes“เขาไม่ต้องการชนะหรอก เขาแค่ต้องการให้เราเงียบ และมันเป็นวิธีการที่รวดเร็วที่สุดที่จะปิดปากไม่ให้ใครพูดถึงผลกระทบต่อสาธารณะ” เสียงสะท้อนจาก เบญจา แสงจันทร์ คณะก้าวหน้า ในฐานะผู้ถูกฟ้องคดีปิดปากจากภาคธุรกิจ เหตุจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลที่กล่าวอ้างเอื้อผลประโยชน์ต่อภาคธุรกิจในขณะปฏิบัติหน้าที่สส. รูปแบบการฟ้องคดีปิดปากหรือคดี SLAPP (Strategic Lawsuit against Public Participation) กลายเป็นเครื่องมือของทุนและรัฐใช้เพื่อหวังผลให้เสียงของการเรียกร้องสิทธิอ่อนแรงและเงียบลง ไม่เว้นแม้แต่นักปกป้องสิทธิ หรือผู้แทนทางการเมืองที่ถูกเลือกมาจากประชาชนก็ล้วนถูกฟ้องดำเนินคดีทั้งสิ้น โดยผู้ฟ้องไม่ได้มุ่งแสวงหาข้อเท็จจริงด้วยกระบวนการยุติธรรม ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง SLAPP จึงไม่เพียงตีแผ่ความอยุติธรรมที่นักปกป้องสิทธิด้านสิ่งแวดล้อมต้องเผชิญ แต่ยังสื่อถึงพลัง ความกล้าหาญ และความหวังของผู้คนที่ยังคงยืนหยัดต่อสู้เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม และเรียกร้องให้มีการจัดทำกลไกทางกฎหมายที่เป็นธรรมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน ทั้งยังเปิดเวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักกิจกรรม นักกฎหมาย ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน เพื่อร่วมกันหาทางออกจากปัญหา SLAPP ‘ฟ้องปิดปาก’ มรดกตกทอดจากรัฐประหาร ย้อนกลับไปตั้งแต่ปี 2557 ที่สังคมไทยอยู่ภายใต้ระบบรัฐประหาร เกิดพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 พ.ร.บ. นี้ถูกใช้บังคับควบคุมการแสดงออกด้วยการชุมนุมเพื่อเรียกร้องสิทธิของประชาชน และเป็นหนึ่งเหตุผลที่รัฐใช้ในการดำเนินคดีกับผู้ออกมาเรียกร้องปกป้องสิทธิของตนเอง เช่นในกรณี ‘เทใจให้เทพา’ ชาวบ้านในพื้นที่ อ.เทพา จ.สงขลา คัดค้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่ ด้วยการจับกุมและดำเนินคดีแกนนำทั้ง 17 คน ข้อหาขัดขวางการจับกุม ทำร้ายร่างกายเจ้าหน้าที่รัฐ ฝ่าฝืน พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ […]
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
sie / เธอ / ผู้หยัดยืน
Reading Time: 2 minutesสำหรับผู้หญิงแล้ว ถ้อยคำ คืออารยะขัดขืนมันได้กลายเป็นศัตรูของความกลัวที่เอาไว้ต่อสู้กับพวกเผด็จการ ทำให้ภาษาเป็นอาวุธและการประกาศสงครามทั่วทั้งหุบ หยัดยืน หรือ ‘Resto Qui’ นวนิยายลำดับ 4 ของ Marco Balzano นักเขียนชาวอิตาลี สนใจในรสแห่งถ้อยคำ เพราะเหมือนเป็นจุดเริ่มของประวัติศาสตร์ มันเป็นหน้าหนึ่งในประวัติศาสตร์อิตาลีที่ไม่เพียงขมขื่นแต่เปิดประเด็นให้ผู้อ่านฉุกคิดและตั้งคำถาม อย่างน้อยก็เรื่องคนงาน 26 คนที่ตายระหว่างการทำงาน
“หวังว่าพรุ่งนี้จะไปถึงขั้วโลกเหนือ” พูดคุยกับคนรุ่นใหม่(วันนี้)ทำไมต้อง…ย้าย (ประเทศ) เมื่อประเทศนี้คือบ้าน แต่วันนี้เจ็บปวดและสิ้นหวัง
Reading Time: 3 minutesDe/code ชวน 2 คนรุ่นใหม่มานั่งจับเข่าคุย ถามถึงความคิดความรู้สึกที่เขามีต่อสังคม ทำไมสังคมนี้จึงทำให้พวกเขาสิ้นหวัง
อย่าเป็นหลุมดำก็แล้วกัน
Reading Time: 3 minutesห้องปลอดฝุ่นเป็นพื้นที่ปลอดภัยที่ยากจะเข้าถึง และเรื่องสำคัญที่ต้องรู้ ประสบการณ์ของป้ามลย้ำว่า สถานพินิจไม่มีเครื่องฟอกอากาศ แม้จริงอยู่ที่เราไม่ได้ปฏิเสธว่ามีเด็กที่ทำความผิดจริง แต่ประสบการณ์จากการศึกษาในต่างประเทศและที่เห็น ๆ ในไทย การจับคนผิดเข้าคุก การเพิ่มโทษที่แรงขึ้น ก็ไม่ได้ทำให้อาชญากรรมลดลงจริงหรือไม่
MIX
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
สืบหาปีศาจ ‘6 ตุลา’ ที่ซ่อนอยู่ในรายละเอียด
Reading Time: 3 minutesในวาระครบรอบ 46 ปี 6 ตุลา โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ 6 ตุลา-October 6 Museum Project ได้กลับมาจัดนิทรรศการเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้อีกครั้งในชื่อ “6 ตุลา เผชิญหน้าปิศาจ” (Oct 6: Facing Demons) ภายใต้คอนเซ็ปต์ “ปิศาจซ่อนอยู่ในรายละเอียด” ซึ่งเป็นการรวบรวมภาพถ่ายร่วมสมัยกับเหตุการณ์ครั้งนั้นมาจัดแสดง
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เมื่อประชาชนคือด่านหน้าของความ(ไม่)มั่นคงทางน้ำและอาหารในภูมิภาคเอเชีย
Reading Time: 4 minutesประชาชนรากหญ้าคือกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุด เนื่องจากภัยพิบัติมักจะเกิดขึ้นในพื้นที่ของพวกเขา ในขณะเดียวกันรัฐกลับไม่มีมาตรการใด ๆ ในการรับมือกับภูมิอากาศที่ย่ำแย่มากขึ้นทุกวัน
ซาฮาแมนชัน : ไร้อนาคตหรือถูกทำให้ไร้อนาคต
Reading Time: 2 minutesความเหลื่อมล้ำทำให้โอกาสต่าง ๆ ของชาวซาฮามันห่างไกลออกไป
16,283 กม. จากอเมริกาใต้-เอเชีย คัมภีร์เลี่ยงคนเป็นพิษแบบคนรักตัวเอง
Reading Time: 2 minutesธรรมชาติของคาปิบาร่าเป็นนักจัดการความคิด ปรับตัวเก่งและเลือกโฟกัสชีวิตกับปัจจุบัน ไม่โทษฟ้าฝนหรือเรื่องที่อยู่นอกเหนือการควบคุม
เมืองหลวง เมืองไม่น่าอยู่ของคน(ไร้บ้าน)
Reading Time: 2 minutesถ้าคนไร้บ้านสะท้อนความล้มเหลวของสวัสดิการภาครัฐ กรุงเทพฯ ก็คงเป็นเมืองที่มีปัญหาไม่ใช่น้อย De/code คุยกับ ศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่ากทม. เกี่ยวกับสภาวะคนไร้บ้านหลากมิติในเมืองหลวง พร้อมร่วมตั้งคำถามให้ทุกคนได้ลองตอบกันในใจว่า ‘เมืองน่าอยู่’ ในแบบของคุณหมายถึงเมืองแบบไหนกันแน่