
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Crack Politics
ตั้งสหภาพแรงงาน สร้างรัฐสวัสดิการ เมื่อนโยบายเพื่อคนหมู่มาก ถูกมองว่าสุดโต่ง(?)
Reading Time: 3 minutesเชื่อว่าปัญหาแรงงานมีให้พูดถึงได้ทุกวัน ไม่ใช่เฉพาะในวันแรงงาน การกดขี่ขูดรีจากนายจ้าง-นายทุนเกิดขึ้นอยู่ตลอดไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม หลายคนทำงานเกินเวลาโดยไม่ได้รับโอทีจนเป็นเรื่องปกติ และที่ทำงานนหลายแห่งความเป็นไปได้ในการรวมตัวต่อรองเท่ากับศูนย์
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
โควิดผลักไสให้ไร้บ้าน ฝันสลายของผู้สร้างปราสาททราย
Reading Time: 2 minutesนโยบายรัฐบาลต้องเปลี่ยนความคิดใหม่ ต้องเปลี่ยนจากฉันจะสร้างความเจริญ แล้วต้องกวาดต้อนผู้คนไปข้างนอก ให้คิดใหม่ จะให้คนจนอยู่ร่วมกับความเจริญได้อย่างไร
เดินทางไปในโลกของผีเสื้อหลากสี
Reading Time: 2 minutesอย่าเหมารวมทุกคนที่มีอาการทางใจว่าเป็นคนบ้า และอย่าตีตราบุคคลที่มาพบจิตแพทย์ว่าเป็นบุคคลอ่อนแอ
ราคาของ “คนรู้จัก” แรงงาน(สร้างสรรค์)ผู้แลกมาด้วยสัญญาจ้างไม่เป็นธรรม รัฐเมินเฉย
Reading Time: 2 minutesแรงงานสร้างสรรค์ไม่เคยถูกมองเห็นจากภาครัฐ ประสบการณ์ร่วมของการถูกเบียดขับนี้ ทำให้สหภาพแรงงานสร้างสรรค์ แห่งประเทศไทยถือกำเนิดขึ้น
GRID • LIST • PAGINATION
ไกลบ้านเพราะการเมือง 14 ปีของการลี้ภัยและประชาธิปไตยที่ทลายเจ้า-ปืน-ทุนของ ‘จรรยา ยิ้มประเสริฐ’
Reading Time: 5 minutesฉากชีวิตของจรรยา ยิ้มประเสริฐ จากเด็กเรียนดีแห่งบางปลาม้ากลายเป็นคนไม่รักในหลวง สู่ข้อถกเถียงมาตรา 112 ในวันที่กฎหมายภายใต้ความจงรักภักดีนี้ยังบีบบังคับให้ใครหลายคนต้องไกลบ้าน ไม่ได้กลับบ้าน หรือกลับบ้านเพียงร่างที่ไร้วิญญาน
ถึงเวลาสร้างประวัติศาสตร์ฉบับประชาชน เขียนเครื่องหมายคำถามตัวใหญ่กับการถูกทำให้หายไปอำนาจรวมตัวต่อรองของประชาชนต่อสถาบันกษัตริย์ คณะรัฐประหาร ทุนผูกขาด รวมถึงรัฐบาลอภิสิทธิ์และพรรคเพื่อไทย ในความขัดแย้งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สังคมไทยกำลังก้าวข้ามความขัดแย้งแบบใดกันแน่
58 ปีตลอดชีวิต 14 ปีที่ต้องลี้ภัยกับ 1 ความหวังของจรรยา สังคมไทยในวันข้างหน้าจะไม่มีคนรุ่นใหม่คนไหนต้องลี้ภัยอีกแล้ว
#สุขุมวิท11 เราต่างคือผู้ถูกกระทำ
Reading Time: 2 minutesเส้นแบ่งระหว่างเหยื่อและผู้ถูกกระทำพร่าเลือน กลายเป็นพื้นที่สีเทา (grey zone) ที่ไม่อาจแบ่งแยกแบบ ขาว-ดำ ได้
บทเรียนเคมีสตรี ที่มีทุนนิยม วิทยาศาสตร์ชายเป็นใหญ่เป็นสารตั้งต้น
Reading Time: 3 minutesที่สถานีโทรทัศน์หรือไม่ และเธอต้องใช้มากกว่าพลังกายในการกลับมาเชื่อมต่อกับตัวเอง และสร้างฐานที่มั่นคงทางใจใต้โลกทุนนิยมอีกครั้ง
ในวันที่เสรีภาพสื่อไทยมี but hardly free
Reading Time: 3 minutesภูมิทัศน์สื่อภายใต้รัฐบาลจากการเลือกตั้งอาจยังให้เสรีภาพไม่เต็มใบ และถึงแม้สื่อไทยจะมีเสรีภาพแต่ก็ถือได้ว่า hardly free และมองการเดินทางไกลของเสรีภาพครั้งนี้ว่าหินก้อนต่อไปจะไปตกลงที่ใดกับ ดร.พรรษาสิริ กุหลาบ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Conversations on Love : บทสนทนาของความรัก
Reading Time: 2 minutesเราได้เรียนเศรษฐศาสตร์ ไวยากรณ์ ภูมิศาสตร์ และอื่น ๆ อีกมากมาย
แต่ทำไมไม่มีวิชาที่สอนเกี่ยวกับความรัก
ทั้งที่มันส่งผลกระทบต่อชีวิตคนเรามหาศาล
นิรโทษกรรมประชาชนของคน 3 รุ่น ‘ณัฐชนน-จตุพร-พิภพ’ ชำระประวัติศาสตร์ 20 ปีแห่งความขัดแย้ง
Reading Time: 2 minutesความขัดแย้งทางการเมืองไทยดำรงอยู่เกือบ 20 ปี หลังจากพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ขับไล่ “รัฐบาลทักษิณ” และเกิดการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 กระทั่งปัจุบันประเทศไทยอยู่ในวังวนความขัดแย้งไม่สิ้นสุด ข้อมูลจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน มีคนโดนคดีจากการออกมาเคลื่อนไหวในสองทศวรรษนี้แล้วกว่า 6,000 คน ตั้งแต่พ.ร.ก.ฉุกเฉิน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ร.บ.ความสะอาด ประกาศคำสั่งจากคณะยึดอำนาจ ความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 110 (ประทุษร้ายต่อพระราชินี) 112 และ116
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ผุพังทุกหย่อมหญ้าด้วยน้ำมือมหามิจ
Reading Time: 2 minutesวีรพร นิติประภา เขียนถึง รัฐจำเป็นต้องยอมรับความจริงว่า กฏหมายเอื้อจีนและมีช่องโหว่มากมายของเรา ช่วยให้ทุนจีนทั้งเทาและไม่เทาร่วมกับข้าราชการของเราเองสร้างสภาพแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์สำหรับการทุจริต คดโกง หลอกลวงแทบทุกมิติ สิ่งเหล่านี้ไม่เพียงแต่บ่อนทำลายเศรษฐกิจของประชาชน แต่ยังกัดกร่อนความมั่นคงของราชการไปพร้อมๆ กัน จนไม่รู้จะเริ่มต้นสะสางแก้ไขตรงไหนก่อน
ความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน : ชวนอ่านวิทยานิพนธ์ว่าด้วยความรักในโลกเหลื่อมล้ำ
Reading Time: < 1 minuteความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน เป็นประเด็นที่ถูกตั้งในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ แต่คำถามง่าย ๆ คือ แต่ละคนสามารถรักษาความรักได้เท่า ๆ กันหรือไม่ หรือในอีกทางหนึ่งผู้คนที่มีประสบการณ์ที่หลากหลายแตกต่างกัน พื้นหลังทางเศรษฐกิจสังคมแตกต่างกันจะนิยามความรักเหมือนกันหรือไม่ เป็นคำถามที่มนุษย์ถามกันมาหลายศตวรรษ ทั้งในประวัติศาสตร์ บทกวี บทเพลงที่เราต่างเพียรถามกันว่า “รักคืออะไร” ในงานวิจัยนี้ได้ฉายภาพให้เห็นว่า สำหรับอารยธรรมของมนุษย์ นิยามความรักแบบทางการในแต่ละยุคสมัยก็มีความแตกต่างกัน
‘พวกเราจะซวยกันหมด’ บังแกนเปิดแผลร่างกม.คุมเอ็นจีโอ หลายคำยังกำกวมและละเมิดสิทธิสุดซอย
Reading Time: 2 minutesร่วมกันชำแหละว่ามีอะไรซุกซ่อนอยู่ภายใต้ถ้อยคำ “เพื่อประโยชน์สาธารณะ และมีความโปร่งใส ตลอดจนการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน”
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เปอมูดอ ‘มลายูคลื่นลูกใหม่’ แรงกระเพื่อมเหนือผิวน้ำ เพื่อสันติภาพชายแดนใต้
Reading Time: 3 minutesเสียงของเปอมูดอ มลายูคลื่นลูกใหม่ ในงาน Melayu raya 2025 แรงกระเพื่อมที่พาให้แวรุงชายแดนใต้มารวมตัวกันที่หาดวาสุกรีกว่าแสนคน เพื่อบอกเล่าถึงการกดทับ ยอมรับอัตลักษณ์และตัวตนผ่านบาจูมลายู
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
สังคมจมดราม่าหรือทฤษฎีสมคบคิด ‘เจ้าหญิงเคท’ เมื่อภาพก็ใช้ยืนยันไม่ได้
Reading Time: 4 minutesมีคำถามหนักขึ้นว่า ตกลงเจ้าหญิงเคทเธออยู่ไหนกันแน่ บ้างถามถึงขนาดว่ายังทรงมีชีวิตอยู่หรือไม่ มีบ้างที่สงสัยว่าการผ่าตัดอาจไม่ได้ผลหรือไม่ก็มีโรคที่ร้ายแรงมากกว่าที่เปิดเผยออกมา มีคนถามไปถึงการถูกทำร้ายร่างกายหรือถูกกักบริเวณก็มี รวมไปถึงที่ว่าหลบซ่อนตัวด้วย คือโลกโซเชียลนั้นเหมือนจะพร้อมจะเป็นแหล่งบ่มเพาะทฤษฎีสมคบคิดตลอดเวลา
ภาษาอังกฤษกับความเป็นสากลที่เด็กไทยอยากไปให้ถึง
Reading Time: 3 minutesคุยกับกรกนก ฮัปเปิล ถึงสาเหตุความย่ำแย่การใช้ภาษาอังกฤษของเด็กไทย ท่ามกลางความเป็นภาษาสากลของภาษา
รัฐราชการพันลึก ทับซ้อนซ่อนเงื่อน(ไข)ว่าด้วยเรื่องการจ้างงานแบบภาครัฐไทย
Reading Time: 3 minutesDecode ชวน ผศ.ดร.วสันต์ เหลืองประภัสร์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาย้อนที่มาของระบบการจ้างงานข้าราชการและปัญหาการจ้างงานแบบกึ่งราชการ ไปจนถึงถอดรหัสเงื่อนไขในการปฏิรูประบบราชการไทยว่าทำไมแม้เราจะมีความพยายามปฏิรูประบบนี้แค่ไหนแต่ยังไงก็ไม่สำเร็จสักที ปิดท้ายด้วยการเสนอหนทางปฏิรูปราชการที่สามารถทำได้จริงในระบบที่ขึ้นชื่อได้ว่ามีความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงสูงมาก
เราต่างถูกทำให้เป็นสบู่ก้อนเล็กที่ถูกห่อปลีกด้วยพลาสติกแห่งความปัจเจกอันเป็นบรรจุภัณฑ์ของโลกทุนนิยม
Reading Time: 3 minutesภายใต้โลกทุนนิยมเรานั้นทวบทวนและตบตีภายในหัวซ้ำแล้วซ้ำเล่าว่าเราจะไหลตามมันไป เพื่อชีวิตที่อาจจะง่ายกว่า หรือจะเหวี่ยงแขนออกไปสักหมัด ต่อต้านและยืนหยัดระบบอันเฮงซวย