
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Columnist
Resurrection ระบบยุติธรรมในแบบ Tolstoy
Reading Time: 2 minutesResurrection เป็นงานที่ประหลาด หากจะมีจุดที่พอจะทำให้สองส่วนนี้อยู่ร่วมกันได้ก็คงเป็นความสุดโต่งของตอลสตอยที่สามารถสุดโต่งไปได้ทั้งในแง่ที่ดูก้าวหน้า และในแง่ที่มีความเป็นอนุรักษ์นิยม
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
อภิสิทธิ์ชนจะละอายในคำสัญญา
Reading Time: < 1 minuteสิ่งที่เราจำเป็นต้องทำก็คือไม่ต้องเป็นติ่ง ไม่ต้องแบก ไม่ต้องไปคิดถึงเรื่องยุทธศาสตร์อะไรต่าง ๆ แต่ให้พูดอย่างตรงไปตรงมาว่าเราต้องการอะไร ต้องการเมื่อไหร่
ประชากรกำพร้า
Reading Time: < 1 minuteรัฐต้องมองไปข้างหน้า เห็นปัญหาล่วงหน้า และเริ่มต้นรับมือทุกปัญหาก่อนที่มันจะบานปลายใหญ่โตตั้งแต่วันนี้
อาสาสมัครฟื้นเชียงราย ถมเท่าไหร่ก็ไม่เต็ม
Reading Time: 3 minutesถาม-ตอบ คำถามต่อคำถาม กับพี่หนูหริ่ง-สมบัติ บุญงามอนงค์ มูลนิธิกระจกเงา ด่านหน้าของการระดมความช่วยเหลือเพื่อกู้คืนเชียงรายประเมินสถานการณ์กับ De/codeว่า ถ้าปล่อยให้การฟื้นฟูล้างบ้านเกิดขึ้นแบบไร้ระบบจัดการเชื่อมโยงที่มีประสิทธิภาพ กว่าเชียงรายจะฟื้นกลับมาได้อีกครั้งจะต้องใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 3 เดือน หรืออาจเป็น 6 เดือนก็ได้
GRID • LIST • PAGINATION
บัวโนสไอเรสถึงอัมสเตอร์ดัม เมื่อคลื่นเอียงขวายังพัดแรง
Reading Time: < 1 minuteที่ว่าสั่นสะเทือนเพราะผลการเลือกตั้งนั้นออกมาอย่างผิดความคาดหมาย นักการเมืองและพรรคการเมืองที่มีแนวคิดเอียงขวาสุดโต่งทั้งมีท่วงท่าทางการเมืองแบบแหกคอกนอกขนบกลายเป็นฝ่ายชนะการเลือกตั้ง
15,000 พิมพ์เขียวรร.ขนาดเล็ก ความหวังใต้ดวงตะวันที่สาดส่องไม่เท่ากัน แบ่งแยกและควบรวม
Reading Time: 4 minutesเมื่อเด็กเกิดน้อย การมีอยู่ของรร.ขนาดเล็กจึงเป็นเรื่องปกติ 15,000 พิมพ์เขียวที่กระจายอยู่ทั่วประเทศในรร.เล็ก หลักฐานเชิงประจักษ์ชิ้นสำคัญที่บอกว่า ‘โรงเรียนขนาดเล็กไม่ใช่ปัญหา’
ถอนคำสาป หาทางรอดสื่อดิจิทัล สร้างคุณค่าข่าว X ระบบนิเวศใหม่
Reading Time: 3 minutesจากจุดเริ่มต้นจากการสื่อสารของนักข่าวพลเมืองตั้งแต่ปี 2551-2566 ท่ามกลางพายุภูมิทัศน์สื่อที่เปลี่ยนแปลงอัตราเร่งที่เร็วและแรง ยังไม่นับรวมถึงการเติบโตและความหลากหลายของสื่อในยุคนี้ การสื่อสารประเด็นทางสังคมยังคงเผชิญกับความท้าทายที่ต้องอยู่ให้รอด ยืนระยะให้นานแล้ว ยังฝันไกลและอยากไปให้ถึงจุดกึ่งกลางระหว่าง Commercial และท้าชนความอยุติธรรมในสังคม
ซาฮาแมนชัน : ไร้อนาคตหรือถูกทำให้ไร้อนาคต
Reading Time: 2 minutesความเหลื่อมล้ำทำให้โอกาสต่าง ๆ ของชาวซาฮามันห่างไกลออกไป
นิรโทษกรรม ตรงไป…ไม่สุดซอย ‘ไม่ใช่ก้าวแรกที่สังคมเดินทางมาถึง’ แต่เป็นก้าวแรก(อีกครั้ง)ในรอบ 20 ปี
Reading Time: 3 minutesตามหาความยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่านผ่านการนิรโทษกรรมกับ พูนสุข พูนสุขเจริญ หัวหน้าฝ่ายวิจัยและกฎหมาย ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน กับการขับเคลื่อนร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน เมื่อก้าวแรกคือการนิรโทษกรรม ก้าวต่อไปยิ่งสำคัญคือการตามหาความปรองดองที่แท้จริงในสังคมไทย
คาบาเรต์ โมกะ และความรักของวัลยา
Reading Time: 3 minutesความรักของวัลยา จากปลายปากกาของเสนีย์ เสาวพงศ์ กำลังท้าทายกับความคร่ำครึของยุคสมัย หากเปรียบเป็นเครื่องบิน ก็คงเป็นยาน Falcon 9 ที่ปล่อยกระสวยตั้งแต่พุทธศักราช 2495 ความรักที่มีน้ำหนักน้อยกว่าอุมดการณ์ของชีวิต เมื่อโมกะแห่งบางกอกกำลังต่อสู้กับการกดขี่ทางเพศแบบไทย ๆ และการขูดรีดของสงครามในเวทีโลก ความรักของเธอคือการต่อสู้ เราทุกคนพึงจะมีชีวิตเสียก่อนถึงจะมีรักได้ ความลึกล้ำของหนังสือเล่มหนึ่ง การก้าวข้ามสุภาษิตสอนหญิงของสุนทรภู่ ความรักของศิลปิน สถาปนิก แรงงาน และอีลีทไทย ณ กรุงปารีสในหนังสือเล่มนี้กำลังพาเราหลุดนอกวงโคจร ที่ ๆ แรงโน้มถ่วงของคติสังคมไม่สามารถฉุดกระชากเราลงสู่พื้นดินได้อีกแล้ว
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ร้อน แล้ง ลมแรง: ไฟป่าและวิกฤติสภาพอากาศของโลกที่กำลังลุกเป็นไฟ
Reading Time: 2 minutesปี 2024 อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกแตะระดับที่สูงกว่าช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมถึง 1.5 องศาเซลเซียสเป็นครั้งแรก การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ได้เป็นเพียงตัวเลขทางวิทยาศาสตร์ แต่มันสะท้อนถึงความจริงที่น่ากลัวว่าโลกใบนี้กำลัง “ร้อน” และกำลัง “เปลี่ยนแปลง” ในรูปแบบที่เราคาดการณ์ได้ยากขึ้นทุกที หนึ่งในผลกระทบที่เห็นชัดที่สุดจากความร้อนที่เพิ่มขึ้นคือไฟป่า ซึ่งทวีความรุนแรงและเกิดขึ้นบ่อยครั้งมากขึ้นในหลายพื้นที่ของโลก
ขอแค่ความหวัง นาขาวังรุ่นสุดท้าย
Reading Time: 3 minutesพื้นที่ความสมบูรณ์แห่งนี้ กำลังตกอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้งมลภาวะทางน้ำ อากาศ ฝุ่น ควัน จากการก่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรมหลากหลาย แบบหลีกเลี่ยงไม่ได้
นโยบายแรงงานแพลตฟอร์ม พรรคไหนที่เขาจริงใจกับเรา
Reading Time: 3 minutesไม่น่าเกิน 5 เดือนข้างหน้าจะถึงวันเลือกตั้งที่เรารอคอย
นโยบายของพรรคการเมืองที่มีแนวคิดในการสร้างความเป็นธรรมให้แรงงานแพลตฟอร์ม สำรวจจุดยืนและมุมมองของพรรคต่อสิทธิและสวัสดิการของแรงงานในสถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งการเสนอนโยบายที่เป็นรูปธรรมในการแก้ปัญหา เป็นการรวบรวมแนวคิดจากพรรคการเมืองทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กที่มีนโยบายในเรื่องนี้อย่างชัดเจน
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
อำนาจ ศิลปะ และการมองเห็น
Reading Time: 2 minutesหากว่าการเมืองถูกสร้างภาพจำมาว่าคือความวุ่นวาย และศิลปะคือความบริสุทธิ์ที่คอยจรรโลงใจ ศิลปะและการเมือง 2 สิ่งนี้ควรแยกออกจากกันหรือเปล่า?
‘การเมืองทัศนา’ หนังสือที่เขียนโดย ผศ.ดร.บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง และดำรงตำแหน่งรองคณะบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จะพาเราย้อนกลับไป สำรวจอำนาจศิลปะที่ถูกใช้คู่ขนานไปกับการเมือง
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เขื่อน vs ป่า พื้นที่มรดกโลกจากเขียวสู่แดง
Reading Time: 3 minutesเมื่อ เขื่อนและอ่างเก็บน้ำ คือทางออกขาดแคลนน้ำในอนาคต แต่เป็นภัยคุกคามมรดกโลกที่ประเทศไทยต้องเผชิญ ชวนทำความเข้าใจสถานการณ์ ค้นหาแนวทางจัดการพื้นที่มรดกโลกที่อาจได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ
คลุกวงในว่าด้วยเรื่องสื่อและจรรยาบรรณ
Reading Time: 2 minutesเพียงแค่เราใช้หลักการของการสื่อสารแบบมืออาชีพอย่างจริงจัง มันก็จะตอบโจทย์ได้แล้ว ความเป็นมืออาชีพที่จริงเป็นเรื่องที่เดินคู่มากับเรื่องของจรรยาบรรณอย่างแนบแน่น จนถึงวันนี้ก็ยังเชื่อมั่นว่า หากเรายึดหลักการการทำสื่อแบบมืออาชีพจริงจัง สิ่งนี้น่าจะยังเป็นคำตอบได้อยู่สำหรับการรับมือการทำข่าวในพื้นที่ความขัดแย้งสามจังหวัดภาคใต้ รวมไปถึงความขัดแย้งอื่น ๆ ที่เห็นกันอยู่ในที่อื่นใดรวมไปถึงความขัดแย้งทางการเมือง ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ใช่เพราะไม่ได้ใช้หลักการการสื่อสารสันติภาพ แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องมาจากการไม่ได้ทำงานแบบมืออาชีพมากกว่า
What’s Next ทุนพลังงานเปลี่ยนไปยัง? ในวันที่ต้นทุนจากแสงอาทิตย์ต่ำกว่าโรงไฟฟ้าก๊าซ
Reading Time: 3 minutesเมื่อความไม่มั่นคงทางไฟฟ้าเคาะประตูบ้าน ต้นทุนพลังงานและราคาที่ต้องจ่ายกำลังทวีคูณ บนทางแพร่งจากประชาคมโลก ที่ไทยต้องเลือกระหว่าง ‘พลังงานหมุนเวียน‘ กับ ’ฟอสซิล’
หลังบ้านทะลุวัง แรงโกรธและการต่อสู้ของผู้หญิง
Reading Time: 3 minutesDe/code พูดคุยกับตัวแทนของกลุ่มทะลุวัง บิวตี้ วิชญาพร ตุงคะเสน, บุ้ง เนติพร เสน่ห์สังคมและใบปอ–ณัฐนิช ดวงมุสิทธิ์ หลังจากเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ในวันที่พวกเขาบอกว่า ยังคงเดินอยู่บนหลักการเดิม เพียงแค่วิธีการเคลื่อนไหวไม่ถูกใจสังคมที่เป็นอนุรักษนิยมอย่างสังคมไทย