seeddemo - Decode

SLIDER • HEADLINE

GRID • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Play Read

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Crack Politics

ประชาธิปไตยที่(ไม่)ตั้งมั่นกับสามคำถามของคนรุ่นหลัง

Reading Time: < 1 minuteทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ์ทางการเมืองหรือสังคมซึ่งสะท้อนความไม่ปกติ ในสังคมไทย ตัวผมเองมักจะมีคำถามอยู่เสมอว่า เราจะอธิบายเรื่องเหล่านี้ ให้คนรุ่นถัดไป เข้าใจได้อย่างไร เป็นภาระหน้าที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญเหมือนกัน ไม่ใช่เพียงแค่ในฐานะคนที่สอนหนังสือในมหาวิทยาลัย แต่ในฐานะคนที่อยู่ในสังคม เพราะมันก็ความยากในการที่จะอธิบายสิ่งหนึ่ง ที่เคยเป็นเรื่องที่คนรุ่นก่อนรู้สึกว่าปกติสามารถทำได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ไทย ในปี 2567 และการยุบพรรคก้าวไกล

GRID • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Crack Politics,Journalism

2 ปีไม่พบผู้ก่อเหตุสังหาร ‘มานะ หงษ์ทอง’ แต่พบกล้องวงจรปิดในที่เกิดเหตุ 13 ตัว

Reading Time: 4 minutesลงพื้นที่สอบสวนในทันทีเมื่อทราบข้อมูล และพบว่าพื้นที่ดังกล่าวที่มานะ หงษ์ทองถูกยิง มีกล้องวงจรปิดทั้งหมด 13 ตัว ในระยะโดยรอบไม่เกิน 20 ก้าวเดิน จุดที่มานะหงษ์ ทองถูกยิงเป็นบริเวณริมถนน ไม่มีมุมอับ มีแสงไฟชัดเจน ทั้งในช่วงเวลาดังกล่าวก็มีเพียงตำรวจ คฝ. ที่ควบคุมพื้นที่อย่างเบ็ดเสร็จ เป็นไปได้อย่างไรกัน? ที่ไม่สามารถหาหลักฐานหาตัวผู้ก่อเหตุได้ 

Decode
Columnist,Data

โคลอมเบีย (2): เปลี่ยนเมืองอันตรายให้กลายเป็นมิตร

Reading Time: 4 minutesในฐานะนักมานุษยวิทยา ผมอยากพูดถึงประสบการณ์จากการได้เดินอยู่ในเมืองเมเดยิน และเมืองโบโกต้า ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศโคลอมเบียราวหนึ่งสัปดาห์ และรู้สึกได้ว่า เมืองเมเดยินเป็นเมืองที่เป็นมิตรมาก

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Columnist

การเมืองสมัยนิยมของคนหนุ่มสาวสมัยนี้

Reading Time: 3 minutesพวกเขามีเฉดความเชื่อทางการเมืองที่หลากหลาย แม้แต่ในกลุ่มคนที่ออกมาเคลื่อนไหวด้วยกัน มีเงื่อนไขของการเข้าร่วมการเคลื่อนไหวที่แตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยภูมิหลังครอบครัว ประสบการณ์ในวัยเรียน วัฒนธรรมการเมืองในแต่ละท้องถิ่น การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารโดยเฉพาะสื่อดิจิทัล และสภาพแวดล้อมทางการเมืองระดับชาติ

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ

GRID • LIST • PAGINATION

ลอตเตอรี่ของความสำเร็จมีตัวเลขกี่หลัก

Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 28 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus

ชายหนุ่มผู้ออกเดินทาง

Reading Time: 3 minutesวรรณกรรมขององอาจ ชัยชาญชีพ ก่อนเริ่มต้นหยิบจับเล่มนี้จากสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ในปีที่ผ่านมา พลันคิดได้ว่าผู้เขียนจงใจอย่างแจ่มแจ้ง ที่จะล้อเลียนชื่อปกอย่างวรรณกรรม “เจ้าช้ายน้อย” ที่เป็นวรรณกรรมคลาสสิคอมตะ

โลกเดือด ชะตากรรมของมหาสมุทร (ตอนที่ 1)

Reading Time: 2 minutesอยากให้ทุกคนลองหลับตา แล้วสูดหายใจลึก ๆ รู้ไหมว่าครึ่งหนึ่งของออกซิเจนที่เราสูดเข้าไปมีที่มาจากท้องทะเล จากแพลงก์ตอนพืชจำนวนมหาศาลที่สร้างออกซิเจนไม่แพ้ป่าดงดิบ ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไหน ใกล้หรือไกลจากทะเลก็ตาม ทะเลเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของทุกคน

จดหมายถึงลูกสาวฉบับที่ 2 : มีผู้คนต่อสู้มาก่อนเรา เจ็บช้ำมาก่อนเรา และพวกเขาทำให้เรามีวันนี้

Reading Time: < 1 minuteประกายไฟลามทุ่ง รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี จดหมายฉบับที่สองก่อนที่พ่อจะได้เจอหน้าลูกสาวของพ่อ ลูกจะได้เกิดและเติบโตมาในโลกที่มีหลากหลายความหมาย โลกที่บางมุมก็สวยงามและมหัศจรรย์ แต่ก็มีอีกหลายมุมที่ลูกอาจฉงนสงสัยว่า ในโลกที่สวยงามขนาดนี้เหตุใดยังมีความโหดร้ายระหว่างกันมากมาย ในความขัดแย้งนี้สิ่งที่พ่ออยากจะบอกลูกคือ โลกมนุษย์เราเคยมีช่วงเวลาที่เลวร้ายไม่ว่าพวกเราจะตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ เราสร้างความอดอยากขึ้นท่ามกลางความอุดมสมบูรณ์ สร้างความยากจนขึ้นมาท่ามกลางความร่ำรวย เราสร้างยารักษาโรคมากมายที่ทำให้ชีวิตมนุษย์ยืนนานเพิ่มได้หลายสิบปีพร้อม ๆ กับสร้างอาวุธสงครามที่คร่าชีวิตมนุษย์นับแสนได้ในไม่กี่วินาที และมนุษย์เราก็ก้าวพ้นความขัดแย้งเหล่านี้ได้ ไม่ได้เกิดขึ้นโดยคนที่มีสติปัญญาปราดเปรื่อง นักรบที่กล้าหาญ หรือเศรษฐีคนใด แต่มันเกิดจากการส่งเสียงของคนธรรมดา ที่ไม่ยอมจำนนต่อความไม่เป็นธรรม ก่อนหน้านี้ มนุษย์แบ่งแยกกันด้วยสีผิวและชาติกำเนิด คนสีผิวหนึ่งไม่ได้รับการคุ้มครองด้วยหลักการที่เท่าเทียมกัน ไม่ถูกคำนึงว่าเป็นมนุษย์ พวกเขาทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ถูกกังขังเหมือนสัตว์เลี้ยง และไม่มีสิทธิ์เสียงในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปของสังคมที่พวกเขาอยู่ พ่อไม่ได้จะบอกลูกว่าสิ่งเหล่านี้ได้หายไปหมด มนุษย์ยังคงแบ่งแยกกดขี่ระหว่างกัน เมื่อครั้งที่มนุษย์ต่อสู้เพื่อการเลิกทาส ยังมีนายทุนจำนวนมากบอกว่าเศรษฐกิจจะล้มละลายถ้ามีการเลิกทาสและทำให้ทุกคนได้รับค่าจ้างที่เป็นธรรมรวมถึงมีสิทธิเสมอภาคกับเหล่านายทาส ถ้าเราใช้หลักเศรษฐศาสตร์กำหนดความเป็นไปของโลก เรายังคงมีทาสอยู่ การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดนี้ไม่ได้เกิดจากการคำนวณแต่เกิดจากการยืนยันต่อสู้ของคนธรรมดาที่ไร้อำนาจ ใช้วิธีที่สันติอารยะขัดขืนบ้าง และบางครั้งพวกเขาก็เดิมพันด้วยชีวิตของพวกเขาในการยืนยันสิทธิที่พวกเขาควรมีตั้งแต่แรก พวกเขาทำให้เราสามารถมีชีวิตที่ดีได้ในวันนี้ มนุษยชาติดูเหมือนจะฉลาดกว่าสิ่งมีชีวิตอื่น แต่ก็มีบางเรื่องที่พวกเขาโง่เง่ามาหลายศตวรรษ มนุษย์ที่ไม่ใช่เพศกำเนิดชายเพิ่งจะมีโอกาสที่เสมอภาคกันหน้าคูหาเลือกตั้งเมื่อไม่ร้อยกว่าปีมานี่เอง การเลือกปฏิบัติสำหรับเพศหญิง และคนที่มีเพศสภาวะไม่ตรงกับเพศกำเนิดเคยเป็นเรื่องรุนแรงในศตวรรษที่แล้ว มีหลายคนที่เสียชีวิตและถูกทำร้ายโดยกระบวนยุติธรรมอย่างเป็นทางการของรัฐ รวมถึงศาลเตี้ยของระบบชายเป็นใหญ่เพียงแค่พวกเขามีความปรารถนาในชีวิต และวิถีทางเพศที่แตกต่างไป แต่การต่อสู้ของคนธรรมดาที่ไร้อำนาจ ผลักดันให้ความเท่าเทียมกันเป็นเรื่องปกติ ทำให้ผู้หญิงธรรมดาสามารถที่จะท้าทาย มีความรักได้อย่างเสรี เมื่อสมัยพ่อเด็ก ๆ คำว่า “ชายแท้” หรือ […]

ผังเมืองก็เรื่องของชาวบ้าน

Reading Time: 2 minutesเพราะผังเมืองเป็นมากกว่าการกำหนดการใช้ที่ดิน แต่เป็นเรื่องของการต่อรองของคนในท้องถิ่นว่าต้องการเห็นเมืองพัฒนาไปในทิศทางไหน กระจายตัวอย่างไร

1 44 45 46 47 48 204

GRID • CAPTION

GRID • CARD • HIDE SUMMARY

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Story

ซิกข์ปัญจาบ เดินทางสู่ความเท่าเทียม

Reading Time: 4 minutesชีวิตตลอด 3 วันประสบการณ์ในหมู่บ้านชาวซิกข์ ทำให้ยิ่งเข้าใจว่าอินเดียเป็นดินแดนที่กว้างใหญ่ไพศาล และเต็มไปด้วยความหลากหลาย เป็นความหลากหลายที่มากกว่าสิ่งที่ผมเจอมาทั้งชีวิต มันทำให้เราได้เรียนรู้ว่าการจะยอมรับและเข้าใจความหลากหลาย ที่แตกต่างจากสิ่งที่เราเห็นและเป็นมา

ณฐาภพ สังเกตุ
Gender & Sexuality,Life Matters

ชีวิตกล่องสุ่มของทรานส์แมน

Reading Time: 3 minutesเมื่อร่างกายชายข้ามเพศกลายเป็น’กรณีศึกษา’ ชีวิตที่ไม่แน่นอนคล้ายยืนอยู่บนกล่องสุ่ม ผลข้างเคียงนอกตำรับยารุนแรงกระแทกกระทั้นทั้งสุขภาวะทางเและสิทธิขั้นพื้นฐานของทรานส์แมน

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Columnist

เติบโต และไม่เดียงสา เพื่อตกผลึกวรรณกรรมในวัยเด็ก (อีกครั้ง)

Reading Time: 3 minutesคณะปกครอง มีความพยายามอย่างยิ่งยวดที่จะตัดภูติและเด็กออกจากกัน โดยอ้างว่าการตัดนั้นจะทำให้หลุดพ้นจากบาปและเติบโต

ณัฐพร เทพานนท์
Crack Politics,Columnist

เพนกวิน – พริษฐ์ ชิวารักษ์ ความฝันใหญ่เกินร่างกาย หัวใจใหญ่กว่าประเทศไทย

Reading Time: 2 minutesเมื่อนึกดูแล้วนับจากผมรู้จัก เพนกวิน-พริษฐ์ มันอาจเป็นเรื่องตลกที่แทบทุกครั้งผมจะได้ยินคำพูดในลักษณะนี้ว่า “กระแสกำลังมาแล้วครับอาจารย์” เขาเป็นคนเชื่อในการต่อสู้ ในการเปลี่ยนแปลง แม้ในวันที่ยากที่สุด ในวันที่ดูไร้ทาง วันที่โดดเดี่ยว แต่สิ่งที่เขาไม่เคยเลิกที่จะพูดคือ “กระแสกำลังมาแล้วครับอาจารย์”

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

GRID • CONTENT

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 2]

Reading Time: 3 minutesคนทำงาน ฉัตรชัย พุ่มพวง สายธารการลุกขึ้นสู้และชัยชนะของขบวนแรงงานในสังคมไทย ในยุคต้นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หลังจากที่ ร.5 รวบอำนาจจากเหล่าเจ้าขุนมูลนายทั่วอาณาบริเวณที่เหลือเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งฝรั่งเศสทั้งอังกฤษได้สำเร็จ ก่อเกิดเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นเป็นครั้งแรก พร้อมกันนั้นได้มีการยกเลิกระบบไพร่ทาสไป เนื่องจากมีแรงงานจีนอพยพได้หลั่งไหลเข้ามาในสยามจำนวนมากตั้งแต่สมัย ร.4 ทำให้ต้นทุนของระบบไพร่ทาส เริ่มที่จะแพงและไร้ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับแรงงานรับจ้างอย่างแรงงานจีน มีการปฏิรูประบบภาษีให้รวมศูนย์มาที่กษัตริย์โดยให้ทุกคนจ่ายภาษีแทนการเรียกเกณฑ์แรงงานบังคับ เมื่อสัดส่วนของแรงงานจีนในสังคมสยามมีมากขึ้น ๆ ปัญหาเรื่องสภาพการทำงานที่ย่ำแย่ จึงเข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ปกติแล้ว เมื่อคนจีนอพยพไปอยู่ที่ไหนในโลก ก็จะมีการพยายามรวมกลุ่มกัน เป็นที่มาของคำว่า “อั้งยี่” ที่เป็นคำใช้เรียกองค์กรของแรงงานจีน ซึ่งจริง ๆ แล้วทำหน้าที่คล้ายกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อรองกับรัฐและทุนนั่นเอง กุลีจีนเหล่านี้เป็นแรงงานกลุ่มแรก ๆ ที่สไตร์คหยุดงานในสยาม ไม่ว่าจะเป็นแรงงานจีนในเหมืองที่ภาคใต้ หรือ กุลีลากรถและกรรมกรแบกข้าวสารในพระนคร ช่วงแรกรัฐบาลสมบูรณาฯ ก็รู้สึกสะดวกในการดีลกับผู้นำของอั้งยี่ทำให้ควบคุมจัดการพวกแรงงานจีนทำได้ง่าย แต่พอนานไปเข้าก็รู้สึกได้ถึงอำนาจต่อรองที่มากเกินไป เพราะมีเหตุการณ์ที่แรงงานจีนเหล่านี้สไตร์คหยุดงาน จึงทำให้ต้องออกกฎหมายอั้งยี่ซ่องโจรออกมา เพื่อกดปราบแรงงานจีนเหล่านี้ เมื่อเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรในปี 2475 ขบวนแรงงานในสังคมไทยก็เติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ บางยุครวมตัวกันได้อย่างแข็งขัน บางยุคถูกฝั่งรัฐและทุนโต้กลับกดปราบ โดยเฉพาะยุคเผด็จการสฤษดิ์ ถนอม ประภาส ที่มีการใช้มาตรา 17 ประหารสุภชัย ศรีสติ ผู้นำแรงงาน […]

วิศวกรผู้ถูกซ้อมทรมาน ลุกขึ้นสู้กับอำนาจรัฐ จนกว่าความยุติธรรมจะบังเกิด  

Reading Time: 3 minutesอรรถสิทธิ์ย้อนกลับไปเล่าถึงความทรงจำในคืนวันดังกล่าวที่เขาถูกซ้อมทรมาน เขาบอกว่านอกจากพ.ต.ท. พีรรัฐ โยมา ที่เป็นคนทำร้ายร่างกายเขา ตำรวจคนอื่นๆ กลับเลือกปฏิบัติตามคำสั่งและเลือกที่จะไม่ยับยั้งเหตุการณ์ทั้งที่รู้ว่าเป็นสิ่งที่ผิด พวกเขาเกรงกลัวอำนาจผู้บังคับบัญชา มากกว่าความถูกต้องตามหลักกฎหมายและหลักมนุษยธรรม อรรถสิทธิ์เป็นหนึ่งในผู้ถูกซ้อมทรมาน ที่ลุกขึ้นมาเรียกร้องความเป็นธรรม และเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการจัดทำพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ โดยการให้ข้อมูล  แต่ในสังคมไทยยังมีผู้ถูกซ้อมทรมานอีกนับหลายราย ที่ไม่มีโอกาสได้ออกมาเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ตัวเอง ด้วยความหวาดกลัวที่พวกเขาต้องเผชิญ

เพราะเราต่างมีส่วนสร้างพลเมือง ประชาธิปไตยจะไม่ใช่แค่วิชาสังคม

Reading Time: 2 minutesDecode สรุปความจากวงเสวนา ‘พลเมืองประชาธิปไตยและพลังขับเคลื่อนสังคมของเยาวชน (Democratic Citizens and Civic Engagement of the Youth)’ ช่วงที่ 2 นิเวศการเรียนรู้ความเป็นพลเมือง ซึ่งจัดขึ้นโดย มูลนิธิการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองไทย (Thai Civic Education Foundation ร่วมกันกับภาคีเครือข่าย เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

MIX

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Columnist,Human & Society

ผังเมืองก็เรื่องของชาวบ้าน

Reading Time: 2 minutesเพราะผังเมืองเป็นมากกว่าการกำหนดการใช้ที่ดิน แต่เป็นเรื่องของการต่อรองของคนในท้องถิ่นว่าต้องการเห็นเมืองพัฒนาไปในทิศทางไหน กระจายตัวอย่างไร

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

ฟ้าบ่กั้น ไวยากรณ์ของคนธรรมดา

Reading Time: 2 minutesเป็นครั้งที่เท่าไร ไม่ได้นับที่ฉันยืนมองฝาไม้มอซอ รุงรังไปด้วยสัมภาระ เป็นอีกครั้งที่ฉัน Remind ถึง ฟ้าบ่กั้น ของลาวคำหอม วรรณกรรมแห่งฤดูกาลของความยากไร้ และการพลัดพรากมาเยือนอีกครั้ง

‘ฝนเดือนพฤศจิกา’ ไม่ตกไปตลอดกาล

Reading Time: 2 minutesคำโปรยจากละครเวที ‘ฝนเดือนพฤศจิกา’ ที่ตรึงชิ้นส่วนของจิตวิญญาณที่หลงทางของเราให้ฉุกคิด ความทรงจำของการก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ตอนต้นได้โลดแล่นเข้ามาในหัวอีกครั้ง ความรู้สึกของเราคงไม่ต่างอะไรกับ แบงค์ มายด์ และแนนตัวละครทั้ง 3 ที่พบทางตันของชีวิตในช่วงที่กำลังจะเรียนจบ และจะก้าวเข้าสู่วัยทำงาน จึงหลีกหนีโลกความเป็นจริงมาหลบฝนใน ‘โรงเรียนสตรีจุลนาค’ โรงเรียนร้างย่านนางเลิ้ง หรือที่ทำงานของไอซ์ในฐานะคนเฝ้าโรงเรียน

ประทับตรา ‘เอกราช’ ให้กลายเป็นอาชญากรรมทางความคิด

Reading Time: < 1 minuteมันไม่ใช่ว่าทุกคนในพื้นที่นี้อยากได้ “เอกราช” ที่จริงแล้วประเด็นสำคัญอยู่ตรงที่ไม่มีใครแน่ใจได้แท้จริงว่าคนที่ต้องการ “เอกราช” นั้นมีอยู่มากน้อยแค่ไหนนอกเหนือไปจากคนที่เป็นสมาชิกขบวนการกลุ่มต่าง ๆ

The sea beast : ระหว่าง Thalassophobia กับ Propaganda มนุษย์กลัวสิ่งใดมากกว่ากัน

Reading Time: 2 minutes“ประวัติศาสตร์ของเราเป็นเรื่องโกหก” เมย์ซี่พูดอย่างเสียงดังฟังชัดต่อหน้าคนบนบัลลังค์
เธอยังคงถือหนังสือเล่มเดิมไปจนจบเรื่อง สิ่งที่แตกต่างกันไป คือความจริงที่เธอเชื่อไม่ได้อยู่ในหนังสืออย่างเดียว ราวกับว่าเธอยังคงเก็บมันไว้ในฐานะคนรุ่นใหม่ ที่จะเรียนรู้จากอดีต เพื่อไปสู่อนาคตที่ดีขึ้น

SLIDER • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Play Read

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Columnist

มองผ่านซากอิฐปูน ในงานเขียน น. ณ ปากน้ำ

Reading Time: 4 minutesผ่านมากกว่า 56 ปีหลังจากหนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์ครั้งแรก หลังจากอ่านจบนอกจากซากอิฐปูน ประวัติศาตร์ศิลปะ รูปแบบเจดีย์ ที่อัดแน่นอยู่ในเล่ม ผมกลับสนใจคำบ่น และเสียงเหนื่อยหอบ รวมไปถึงเรื่องเล่าระหว่างทางที่แอบซ่อนอยู่ระหว่างบรรทัด

Story

ระหว่างบรรทัดของการการค้าทาสสมัยใหม่ในน่านน้ำไทย

Reading Time: 3 minutesในน่านน้ำของประเทศไทย ยังมีการค้ามนุษย์อีกหรือไม่? ในจังหวะที่ไทยพยายามแก้ไขปัญหานี้มากว่า 7 ปี ดูเหมือนว่าคำถามนี้จะ “ละเอียดอ่อน” มากกว่าที่คิด

SLIDER • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Columnist,Data

โคลอมเบีย (2): เปลี่ยนเมืองอันตรายให้กลายเป็นมิตร

Reading Time: 4 minutesในฐานะนักมานุษยวิทยา ผมอยากพูดถึงประสบการณ์จากการได้เดินอยู่ในเมืองเมเดยิน และเมืองโบโกต้า ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศโคลอมเบียราวหนึ่งสัปดาห์ และรู้สึกได้ว่า เมืองเมเดยินเป็นเมืองที่เป็นมิตรมาก

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Crack Politics,Interviews

เป็นคนดีมีเมตตา(นอก)กรอบคิด “พุทธแบบรัฐ”

Reading Time: 2 minutesมองมุมใหม่ต่อการทำบุญทำทาน ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าส่วนหนึ่งผูกติดกับหลักคิดของศาสนาพุทธ ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าชุดความคิดนี้มีปัญหาโดยตัวของมันเอง แต่ท่ามกลางสังคมที่เปลี่ยนผ่านสู่ชุดคุณค่าแบบใหม่ การสงเคราะห์ผู้ยากไร้โดยมองข้ามปัญหาเชิงโครงสร้างที่แท้จริง อาจทำให้เราตกหลุมพราง “ความดี” จนไม่สามารถแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจได้อย่างที่สังคมประชาธิปไตยควรจะเป็น

อโนมา สอนบาลี
Election

เบิ่งแหน่! ก่อนเลือกตั้งท้องถิ่น 1 กุมภาฯ จะได้เดินเข้าคูหาแบบไม่สับสน

Reading Time: 2 minutesเลือกตั้ง อบจ. นั้นสำคัญไฉน
เพราะ อบจ. เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ มี 76 จังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานคร การได้เลือกผู้แทนที่มีอำนาจในการบริหารและส่งสัญญานตรงสู่ส่วนกลางถึงความเดือดเนื้อร้อนใจของท้องถิ่น
การเลือกตั้งอบจ. คือความหวังนั้น ความหวังที่จะปรากฏให้เห็นชัดว่าความเจริญไม่จำเป็นต้องกระจุกตัวอยู่แค่มหานครเท่านั้น
แต่! อย่าเดินสับเข้าคูหาจนสับสน เพราะมีข้อชวนงงหลายจุดที่ต้องทำความเข้าใจก่อนกาบัตรเลือกตั้ง
ชวนอ่านก่อนกาบัตรที่คูหา เลือกตัวแทนเข้ามาพัฒนาท้องถิ่นให้ดีกว่าเดิม

Decode
Human Rights

วิศวกรผู้ถูกซ้อมทรมาน ลุกขึ้นสู้กับอำนาจรัฐ จนกว่าความยุติธรรมจะบังเกิด  

Reading Time: 3 minutesอรรถสิทธิ์ย้อนกลับไปเล่าถึงความทรงจำในคืนวันดังกล่าวที่เขาถูกซ้อมทรมาน เขาบอกว่านอกจากพ.ต.ท. พีรรัฐ โยมา ที่เป็นคนทำร้ายร่างกายเขา ตำรวจคนอื่นๆ กลับเลือกปฏิบัติตามคำสั่งและเลือกที่จะไม่ยับยั้งเหตุการณ์ทั้งที่รู้ว่าเป็นสิ่งที่ผิด พวกเขาเกรงกลัวอำนาจผู้บังคับบัญชา มากกว่าความถูกต้องตามหลักกฎหมายและหลักมนุษยธรรม อรรถสิทธิ์เป็นหนึ่งในผู้ถูกซ้อมทรมาน ที่ลุกขึ้นมาเรียกร้องความเป็นธรรม และเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการจัดทำพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ โดยการให้ข้อมูล  แต่ในสังคมไทยยังมีผู้ถูกซ้อมทรมานอีกนับหลายราย ที่ไม่มีโอกาสได้ออกมาเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ตัวเอง ด้วยความหวาดกลัวที่พวกเขาต้องเผชิญ

ณฐาภพ สังเกตุ

SLIDER TO GRID • CAPTION