
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Welfare state
ลงทุนเพื่อเกษียณแค่มายา ข้าวปลาสิของจริง
Reading Time: 2 minutesสวัสดิการของรัฐ “ไม่เพียงพอ” ต่อการเกษียณ เลยเกิดคำถามต่อว่า เรื่องของเกษียณควรเป็นเรื่องของตัวเอง หรือรัฐควรมีสวัสดิการที่รองรับอย่างเท่าเทียม
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ปรับโฟกัสให้ชัด การเมืองคนดี
Reading Time: 2 minutesสภา เลือกคนดีเป็นนายกฯให้คนดีปกครองบ้านเมือง ทุกคนคงได้ยินคำเหล่านี้กันบ่อยขึ้นจากกระแสการเลือกตั้งที่กำลังใกล้เข้ามาแล้ว
ผู้ลี้ภัยนับแสนยังไร้ ‘สถานะ’ กลายเป็นปัญหาของเราทุกคน
Reading Time: 2 minutesวงเสวนาที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ผู้ลี้ภัยในประเทศไทยเกิดขึ้นบริเวณย่านรามคำแหง มีตัวแทนทั้งจากสภาผู้แทนราษฎร คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ภาคประชาสังคมที่ทำงานเกี่ยวกับผู้ลี้ภัย หน่วยงานรัฐ และภาคส่วนอื่น ๆ ที่ไม่อาจเปิดเผยรายละเอียดได้ เนื่องด้วยเป็นวงเสวนาแบบปิดที่ไม่อาจเปิดเผยรายละเอียดและเนื้อหาทั้งหมด ผู้สื่อข่าวได้ขออนุญาตนำเสนอเนื้อหาบางส่วน อันเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ
ทิ้งไว้กลางเดือน ความอกหักของแรงงาน(ข้ามชาติ)
Reading Time: 3 minutesทันทีที่ด่านพรมแดนปิด ความหวังที่จะกลับบ้านของเขาก็ถูกพับเก็บใส่กระเป๋า แรงงานข้ามชาติเรือนล้านจำเป็นต้องอยู่ที่นี่ทั้งที่ตัวเองก็ไม่รู้ว่าจะมีชีวิตรอดได้อย่างไร เมื่อไร้งานทำ
GRID • LIST • PAGINATION
ขยะริมรั้ว มะม่วงข้ามแดน สิ้นสุดการเยียวยาหนองแหน ‘แค่…รอให้เราหมดแรงขัดขืน’
Reading Time: 2 minutes ขยะนับอนันต์ที่โอบรัด ‘หนองแหน’ ก็ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ หรือเข้ามา เปลี่ยนความสัมพันธ์ของชาวบ้านกับสิ่งแวดล้อม จากพื้นที่ที่ถูกขนานนามว่าเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญ แห่งหนึ่งของภาคตะวันออก มาสู่พื้นที่ที่มีผลผลิตทางการเกษตรไม่แน่นอนและผันแปรตามบ่อขยะ “ป้าหนู” หรือ “แม่หนู” ยืนยันถึงผลกระทบนี้ได้ดี่สุด
ชีวิตกล่องสุ่มของทรานส์แมน
Reading Time: 3 minutesเมื่อร่างกายชายข้ามเพศกลายเป็น’กรณีศึกษา’ ชีวิตที่ไม่แน่นอนคล้ายยืนอยู่บนกล่องสุ่ม ผลข้างเคียงนอกตำรับยารุนแรงกระแทกกระทั้นทั้งสุขภาวะทางเและสิทธิขั้นพื้นฐานของทรานส์แมน
ปัจจุบันที่พูดไม่ได้ อนาคตที่ต้องย้ายหนี
Reading Time: 2 minutesบ่อขยะให้เงินกับชุมชนโดยเรียกว่า “เงินสปอนเซอร์” ซึ่งเป็นเงินสําหรับให้หน่วยงานท้องถิ่นนําไปพัฒนาชุมชน โดยมอบเงินผ่านผู้ใหญ่บ้านในหนองแหน เมื่อรับเงินมา ทําให้การจัดการของหน่วยงานท้องถิ่นก็เป็นเรื่องยากขึ้น เสมือนเป็นการยอมรับการมีตัวตนของบ่อขยะในพื้นที่ชุมชน เสียงของคนที่ยังได้รับความเดือดร้อนที่ออกมาเรียกร้องก็ไม่มีน้ำหนัก เพราะมีสมาชิกมองว่าไม่เดือดร้อนมากขนาดนั้น นอกจากนี้สมาชิกจํานวนน้อยที่อาศัยอยู่ใกล้กับบ่อขยะ ยังได้รับผลประโยชน์จาก “เงินเยียวยา” ที่บ่อขยะจ่ายให้กับชาวบ้าน เพื่อป้องกันการฟ้องร้องจากการได้รับผลกระทบ
ข่าวร้าย ร่างกายฉันมีสารฟีนอล
Reading Time: 2 minutesการสู้เพื่อปกป้องบ้านของเรามีมูลค่าที่ต้องจ่ายมากมายกว่าที่คิดไว้ แต่พวกเรายังคงทําทุกวิถีทางที่จะอยู่บ้านของเราต่อไป
กระชังปลาในอาณาจักรอีอีซี
Reading Time: 2 minutesหากกล่าวถึงสาเหตุในการที่ชาวบ้านไม่ต้องการให้พื้นที่ชุมชนถูกปรับเปลี่ยนไปเป็นท่าเรือบกแล้วนั้น คงไม่มีอะไรบรรยายได้ดีไปกว่าการที่ลุงยงยุทธพาฉันไปยังกระชังเพาะเลี้ยงปลานิลจิตรลดา ที่ชาวบ้านในชุมชน ยึดเป็นอาชีพหลักในการหารายได้เลี้ยงปากท้อง การเดินพูดคุยถึงวิถีชีวิตในชุมชนก่อนสอบถามถึงท่าเรือบก เป็นสิ่งที่ทําให้ฉันสัมผัสได้ว่าเพราะเหตุใดชาวบ้านจึงต้องการรักษาพื้นที่ซึ่งเป็นบ้านและแหล่งทํามาหากิน “ปลา กุ้ง ปู สัตว์น้ำต่าง ๆ ในพื้นที่อุดมสมบูรณ์มาก เพราะมีน้ำที่ดีแหล่งน้ำเลยเป็นพื้นที่ประกอบอาชีพและเลี้ยงทุกชีวิตในชุมชน”
เปิดแผลจำเลย ในคดีฟ้อง ‘ปิดปาก’ นักสิทธิมนุษยชน
Reading Time: 2 minutesนักสิทธิมนุษยชนรอดพ้นคดีฟ้องปิดปาก แต่การคุกคามด้วยกฎหมาย หรือที่เรียกว่าคดี SLAPP ยังคงอยู่ และยังคงบั่นทอนการทำงานและจิตใจของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ปริศนาหน้าฟาร์มถึงหน้าเขียง ใครคุมราคาหมู
Reading Time: 7 minutesหลังการแพร่ระบาดของโรค ASF(อหิวาก์ตกโรคหมู) ในปี 2565 และการจับกุมหมูเถื่อนตั้งแต่ 2564-ปัจจุบัน กว่า 5 ล้านตันเป็นอย่างต่ำ จำนวนเกษตรกรที่หดหาย เพราะเสียหายหนักจากโรค ยิ่งโดนกระหน่ำซ้ำด้วยราคาขายที่ต่ำลง ในขณะที่ต้นทุนมีแต่จะแพงขึ้นทุกวัน หมูแพง เป็นเพียงฉากหน้าของการสั่นคลอนความมั่นคงทางอาหารของคนไทย เมื่อ 1 ใน 3 ของเนื้อสัตว์ที่คนไทยบริโภคมากที่สุดกำลังเผชิญปัญหากับการกินรวบที่อาจทำให้คนเลี้ยง คนขาย และคนกิน อาจต้องบริโภคหมูในราคามากกว่า 300 บาทก็เป็นได้ถ้าเรายังรู้ว่าหน้าฟาร์มถึงหน้าเขียง ใคร เป็นคนคุมราคาหมู
“ประเทศนี้เป็นของราษฎร” 89 ปีอภิวัฒน์สยาม
Reading Time: 3 minutes“ประเทศนี้เป็นของราษฎร” วันแห่งการเปลี่ยนแปลงปกครอง 2475 คณะราษฎร นำโดยอานนท์ นำภา, จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา (ไผ่ ดาวดิน), ครูใหญ่ อรรถพล บัวพัฒน์, ฟ้า พรหมศร และแนวร่วมกลุ่มอื่น ๆ เช่น ราษฎรมูเตลู, กลุ่มเดินทะลุฟ้า, กลุ่มนักเรียนเลว จัดกิจกรรม “ราษฎรยืนยันดันเพดาน” ช่วงเวลาย่ำรุ่งวันนี้ 24 มิถุนายน 2564 ที่อนุเสาวรีย์ประชาธิปไตย ด้วยการจุดเทียนรำลึกถึงเหตุการณ์ ท่ามกลางเจ้าหน้าที่ตำรวจที่รายล้อมอยู่ในรอบ ๆ บริเวณกิจกรรม
ขนมปังและดอกกุหลาบ : อ่าน Feminism for 99% เลิกเดินทีละก้าว เลิกกินข้าวทีละคำ ผู้ถูกกดขี่มีเป้าเดียวคือสังคมนิยม
Reading Time: 2 minutesมีโอกาสได้อ่านหนังสือ Feminism for 99% โดย ชินเซีย อารุซชา ,ติถี ภัฏฏาจารย์ และ แนนซี่ เฟรเซอร์ แปลโดย อรชร ดำรงจิตติ ซึ่งเผยแพร่โดยสำนักพิมพ์ SOI โดยส่วนตัวแล้วนับเป็นหนังสือสตรีนิยมที่ดีที่สุดในรอบหลายปีที่มีโอกาสได้อ่าน แต่สำหรับผู้คนทั่วไปเมื่อเห็นชื่อหนังสือย่อมคิดว่าเป็นหนังสือที่น่าจะพูดถึงสิทธิสตรี การต่อต้านผู้ชาย หรือการเพิ่มบทบาทของผู้หญิงในตำแหน่งสำคัญของประเทศ
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
1-2 Wheel รอบเกาะรัตนโกสินทร์
Reading Time: 2 minutesจุดหมายสำคัญ แต่เรื่องราวระหว่างทางก็น่าสนใจนะ แถมวันนี้อากาศดีจริง แดดอ่อน ฟ้าใส ลมพัดเบา ๆ เห็นเพื่อน ๆ แสนจะสดชื่นคึกคัก ทั้งที่ก่อนเดินทางยังกังวลว่าเพื่อนจะร้อนไหม เช้านี้อากาศดีแม้สายแล้วแดดไม่แรง ลมอ่อนพัดพาใจเราเบิกบาน เราเดินตามกันเข็นเร็วบ้าง ช้าบ้าง พูดคุยเย้าแหย่ เสียงหัวเราะเบา ๆ ลอยมาเป็นระยะ ผ่านจุดไหนถูกใจ สาลี่ เจี้ยบ พี่แอ๊ด พี่ฉวีวรรณ คุณณุ น้องอาสาฯ แวะถ่ายรูปกันสักนิด สวนสราญรมย์ อนุสาวรีย์รัชกาลที่ 4 สีชมพูอ่อนสวยงาม กระทรวงกลาโหม สักการะศาลหลักเมืองเราข้ามถนนกันตรงนี้ ได้คุยสาลี่ถึงรู้ว่าเป็นครั้งแรกของเพื่อนวีลแชร์อีกหลายคนที่ได้มาเดินสนามหลวงอย่างใกล้ชิด ชมความสวยงามของเกาะรัตนโกสินทร์กันแบบ 360° กันไปเล๊ยย ฮิ๊วว
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เศรษฐกิจซึมยาว ฆ่าตัวตายซึมลึก ‘ปีที่แล้วเผาหลอก ปีนี้เผาจริง ปีหน้าเก็บกระดูก’
Reading Time: 2 minutesศพของแม่ถูกเผาไปแล้วในช่วงเช้า ส่วนศพของพี่สาวกำลังจะตามไปในตอนบ่าย ก่อนจะถึงเวลาเผาศพเฮียตี๋ แม้จะตัดสินใจจากโลกนี้ไปพร้อมกัน 11 ชีวิตรวมหมาอีก 6 ตัว แต่ในการประกอบพิธีศพร่างของภรรยาและลูกชายวัย 11 ขวบของเฮียตี๋เจ้าของเต็นท์รถก็ถูกพี่สาวของภรรยาขอแยกไปประกอบพิธีเอง มวลความเศร้ายังคงหนักอึ้งสำหรับผู้ที่มาร่วมงาน ถ้าไม่นับเสียงดนตรีที่ดังคลออยู่ตลอดเกรงว่าแม้แต่การขยับตัวของใครสักคนก็คงเป็นเสียงที่ดังเกินไป
7 เดือนผ่านไป…ประตูยุติธรรมของ ‘มานะ หงษ์ทอง’ ยังปิดตาย
Reading Time: 3 minutesการปล่อยให้เวลาผ่านไป มีผลต่อรูปคดีของมานะ หงษ์ทองอย่างมาก ด้วยพยานหลักฐานที่เราไม่แน่ใจว่าจะหาได้มากน้อยแค่ไหน
Free Visa สวรรค์บนดินของ “จีนเทา” ในไทย
Reading Time: < 1 minuteทุกวันนี้ ถ้าเราเลื่อนฟีดโซเชียลมีเดีย หรือเปิดชมข่าวทางโทรทัศน์ แล้วมีข่าวคดีอะไรขึ้นมาซักอย่างหนึ่ง เมื่อลองคลิกเข้าไปอ่านเนื้อหาข่าวดี ๆ เราจะพบว่าข่าวนั้นอาจมีเรื่อง จีนเทา เข้ามาเกี่ยวข้อง ทำไม ‘จีนเทา’ เข้ามาทำความผิดในประเทศไทยได้ง่ายขนาดนั้น? จริง ๆ แล้วจีนเทาไม่ได้จู่ ๆ เกิดขึ้นมาแล้วทำความผิดในไทยเลย ก่อนหน้านี้จีนเทาอาศัยช่องว่างทางกฎหมายในประเทศจีนดำเนินการทำสิ่งผิดกฎหมายต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่นข่าวเรื่องแก๊งคอลเซ็นเตอร์ แต่ต่อมาเมื่อประชาชนจีนถูกหลอกมากขึ้นเรื่อย ๆ จนรัฐบาลรับเรื่องร้องเรียนนี้ต่อไปอีกไม่ไหว จีนจึงลงมือกวาดล้างครั้งใหญ่ ทำให้ขบวนการเหล่านี้ถูกไล่ล่า จนจีนเทาต้องกระจายตัวเองไปยังประเทศอื่น ๆ ซึ่งในบางประเทศก็ปราบปรามได้ แต่ในบางประเทศก็ยังปราบปรามไม่ได้ นอกจากทางการจีนจะปราบปรามแก๊งคอลเซ็นเตอร์ในจีนแล้ว ยังทำให้จีนเทาที่ทำสิ่งผิดกฎหมายอื่น ๆ ในจีนกระจัดกระจายไปด้วย บวกกับกฎหมายของไทยมีช่องว่าง ผู้บังคับใช้กฎหมายก็อ่อนแอ ทำให้คนไทยได้รับความเสี่ยงเหล่านี้โดยไม่ทันได้ตั้งตัว ช่องว่างทางกฎหมายคือด่านแรกที่ทำให้จีนเทาสามารถเข้ามาทำสิ่งผิดกฎหมายได้ก็คือเรื่อง วีซา โดยเฉพาะช่วงหลังที่มีฟรีวีซา คุณชาดา เตรียมวิทยา ผู้เขียนหนังสือเรื่อง “จีนเทา : จีนใหม่ไทยแลนด์” ได้เขียนอธิบายไว้ว่า ชาวจีนที่อพยพเข้ามาใหม่นั้นได้อาศัยจังหวะนี้ในการทำสิ่งผิดกฎหมายซึ่งดูเหมือนจะส่งผลกระทบทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และกฎหมาย และสิ่งน่ากังวลที่สุดก็คือ ผลกระทบด้านอาชญากรรมผิดกฎหมายที่แฝงตัวเข้ามาในรูปแบบต่าง ๆ วีซาของคนจีนที่เข้ามาในไทยนั้นมีหลายประเภท เช่น วีซานักเรียน […]
145 เดซิเบลเหนือท้องฟ้าริมแม่น้ำสาละวิน
Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 21 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus