seeddemo - Decode

SLIDER • HEADLINE

GRID • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Play Read

เดินกลับบ้านด้วยกัน สัญญะอันยอกย้อน

Reading Time: 2 minutesแล้วเดินกลับบ้านด้วยกันนะ คำเชื้อเชิญให้สำรวจและตรวจสอบคลื่นในชายฝั่งของตัวเอง ทั้งหมดจด ลึกซึ้ง และกว้างไกล เพื่อกลายเป็นส่วนหนึ่งของความเร้นลับอันไกลโพ้น และทิ้งเราไว้กับอุดมคติที่ยังคงก้องกังวานในใจราวกับถูกคลื่นซัดเข้าสู่ห้วงยามของความเป็นความตายมันไม่ยอมให้เราผ่านไปได้โดยไม่ทิ้งร่องรอย 

GRID • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Interviews,Economy

พอเถอะ! ทุนนิยมเลยเถิด การเกิดแพลตฟอร์ม+Co-op อาจเป็นทางเลือกใหม่

Reading Time: 3 minutesในวันที่การงานแห่งอนาคตพามนุษย์กลับไปทำงานหนักและเปราะบางยิ่งกว่ายุคไหน ๆ คุยกับนักวิชาการแรงงาน จาก ‘แรงงานขี่มอเตอร์ไซต์ส่งอาหาร’ ถึง ‘เศรษฐกิจสมานฉันท์’ ดร.เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร ผู้อำนวยการสถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม

อรพิน ลิลิตวิศิษฎ์วงศ์
Crack Politics,Human Rights

ลดความรุนแรงก่อนคุยสันติภาพ ?

Reading Time: < 1 minuteถ้อยแถลงของทุกฝ่ายบ่งชี้ว่าการพูดคุยสันติภาพกำลังจะเข้าสู่ขั้นตอนสำคัญ นั่นคือจะเริ่มคุยกันในเรื่องของเนื้อหาที่จะนำไปสู่การคลี่คลายความขัดแย้ง

นวลน้อย ธรรมเสถียร

GRID • LIST • PAGINATION

ความลับของฟ้า เปลี่ยนไปเมื่อได้รู้จัก รักเมื่อได้มอง

Reading Time: 3 minutesความลับที่ได้จากฟ้า ยิ่งฟ้ากว้างเท่าไร ยิ่งต้องทำตัวให้เล็ก สิ่งเดียวที่จะกว้างตามฟ้าได้มีเพียง “ใจ” เท่านั้น(beginner’s mind) เมื่อไรที่ตระหนักได้เสมอว่าตัวเราเล็ก ฟ้าจะก็ค่อยๆ เผยความลับบางอย่าง

18 ปีที่ยังมี ‘เบอร์รีเลือด’ ทางออกจากป่าสน เขาวงกตแห่งการค้าทาสสมัยใหม่

Reading Time: 3 minutesจากรัฐสภาไทยถึงฟินแลนด์-สวีเดน กับทางแก้ไขปัญหาแรงงานไทยในขบวนการค้าทาสสมัยใหม่ ช่องโหว่ภายใต้คำว่า โควตา ที่บริษัทนายหน้าและบริษัทแม่ใช้ขูดรีดแรงงาน ในขณะที่ภาครัฐยังไร้ซึ่งทางออกที่รัดกุม จนนำไปสู่ข้อสงสัย หรือเม็ดเงินหลักพันล้านจึงทำให้ขบวนการค้าทาสสมัยใหม่ยังคงอยู่และไร้ซึ่งการลงดาบต่อบริษัทเหล่านี้อย่างจริงจังจากกระทรวงแรงงาน กระทรวงต่างประเทศ และรัฐบาลทั้ง 3 ประเทศ

ลาดูแลหัวใจ เมื่อชีวิตคนเป็นมากกว่าแรงงาน

Reading Time: < 1 minuteคำถามสำคัญคือชีวิตของคนไม่ใช่แค่แรงงาน และไม่ได้อยู่คนเดียวในโลกใบนี้ มีความเปราะบางหลายอย่างที่มนุษย์พึงได้รับการดูแล ที่ไม่ใช่เพียงแค่แรงงานแต่หมายถึงแง่มุมอื่นที่ไม่เกี่ยวกับงาน ไม่เกี่ยวกับตัวเอง เราสามารถลาเพื่อยืนยันความเป็นมนุษย์ของเราได้หรือไม่

ชายขอบของข่าว มีเรื่องเล่าอยู่ตรงนั้น

Reading Time: 2 minutesหนังสือเล่มเล็กๆ ความหนา 173 หน้า ได้บรรจุชีวิตผู้คนริมชายแดน บางเรื่องเป็นเรื่องราวของทหารนักรบ บางเรื่องมาจากซอกมุมชุมชนที่กำลังถูกรัฐและทุนลุกคืบชูธงในนามของการพัฒนาที่พร้อมเบียดขับผู้คนที่อาศัยมาก่อนให้พ้นทาง หนังสือเล่มบางนี้ มาจากประสบการณ์ทำข่าวของ ภาสกร จำลองราช ผู้ก่อตั้งและบรรณาธิการสำนักข่าวชายขอบ 

กยศ. สะพานการศึกษาที่ส่งไม่ถึงฝั่ง

Reading Time: 3 minutesDe/code ได้ไปพูดคุยกับ บิล (นามสมมุติ) อายุ 24 ปี นักศึกษาที่จบจากมหาวิทยาลัย มาประมาณ 2-3 ปี ที่มีความจำเป็นต้องทำงานควบคู่กับการเรียนไปด้วย และประสบการณ์การเก็บชั่วโมงจิตอาสา ทำให้เธอต้องสูญเสียทั้งงาน เงิน และเวลา ไปกับการทำความดีที่ได้ผลจริงหรือเปล่า นอกจากนี้ยังได้พูดคุยกับธนกาญจน์ รื่นไว นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเอกชนที่พึ่งกู้ และได้พบว่าสะพานสู่โอกาสเหล่านี้อาจไม่ได้สร้างมาเพื่อทุกคน

1 56 57 58 59 60 204

GRID • CAPTION

GRID • CARD • HIDE SUMMARY

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
el nino เอลนีโญ เอลนีโญ่ โลกร้อน โลกรวน น้ำแล้ง ภัยแล้ง News,Environment

เอลนีโญมา ‘ถ้าไม่มีน้ำ เศรษฐกิจก็จบ’

Reading Time: 3 minutesเพราะภาคการเกษตรในประเทศไทยยังคงเป็นโมเดลรองจากอุตสาหกรรม และหากย้อนไปในสมัยก่อนจะพบว่า ภาคกลางใช้น้ำชลประทาน 100% เกษตกรไม่มองน้ำต้นทุนของตนเอง ถมที่ทั้งหมดเพื่อทำการเกษตร แต่หลังจากนั้นสิบกว่าปีก็เริ่มแล้ง เมื่อต้องการมองหาพื้นที่สาธารณะที่สามารถรองรับน้ำต้นทุนได้ก็กลับไม่เจอ

ณัฐพร เทพานนท์
Columnist

สองพี่น้องตระกูลสืบแสงกับคณะราษฎรและสามจังหวัดภาคใต้

Reading Time: 2 minutesขยายประเด็น นวลน้อย ธรรมเสถียร วันสำคัญในเดือนมิถุนายนเพิ่งผ่านพ้นไป เตือนใจให้เรานึกถึงเรื่องของการเปลี่ยนแปลงการปกครองและคณะราษฎร ในฐานะของคนที่ทำงานเกี่ยวพันกับสามจังหวัดภาคใต้ ผู้เขียนคิดไปถึงเรื่องราวของคณะราษฎรกับความพยายามแก้ปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่นี้ของคนในกลุ่ม ซึ่งพลันที่คิดเรื่องนี้ ชื่อของสองพี่น้องตระกูลสืบแสงก็ผลุบโผล่ขึ้นมาทันที เช่นเดียวกันกับชื่อบุคคลสำคัญในคณะราษฎร และรวมไปถึงผู้นำศาสนาคนสำคัญที่ถูกอุ้มหายในอดีตคือหะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ การจะเขียนถึงเรื่องนี้ทำให้ต้องพิจารณาสองเรื่องประกอบกัน หากเราไล่ไทม์ไลน์ทางประวัติศาสตร์สองเรื่องคือเหตุการณ์ในพื้นที่ภาคใต้ กับการเมืองในกรุงเทพฯ จะพบว่าในช่วงเวลาก่อนหน้าที่จะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 มีเหตุการณ์ที่น่าสนใจเกิดขึ้นในพื้นที่ภาคใต้ กล่าวคือในปี 2470 หะยีสุหลงเดินทางจากตะวันออกกลางกลับบ้านเกิดคือปัตตานี โดยมาจากเมกกะที่ซึ่งเขาไปศึกษาและใช้ชีวิตมาเนิ่นนาน การกลับสู่พื้นที่หนนี้จะทำให้หะยีสุหลงกลายเป็นผู้ที่มีบทบาทอย่างสำคัญโดยเฉพาะด้านศาสนาในพื้นที่ ส่วนพี่น้องตระกูลสืบแสงในที่นี้หมายถึงจรูญ สืบแสง และเจริญ สืบแสง พวกเขาเป็นชาวปัตตานีที่แม้จะมีอาชีพคนละอย่าง ทำงานคนละด้าน แต่ในที่สุดแล้วงานของพวกเขาล้วนเป็นเรื่องรับใช้สังคม มีข้อมูลหลายประการที่ทำให้เชื่อได้ว่าพวกเขาทั้งคู่น่าจะมีบทบาทอย่างสำคัญที่ทำให้เกิดการสื่อสารสัมพันธ์ระหว่างหะยีสุหลงกับคณะราษฎร ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจที่เกิดขึ้นในสายสัมพันธ์นี้คือทำให้เกิดการพูดคุยเพื่อจะคลี่คลายปัญหาในพื้นที่ในช่วงหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ซึ่งถ้าจะเรียกมันว่าเป็นกระบวนการสันติภาพช่วงแรก ๆ ก็อาจจะไม่ขัดเขินจนเกินไปนัก  จรูญ สืบแสงเป็นข้าราชการทำงานด้านการเกษตร จบการศึกษาด้านนี้มาจากฟิลิปปินส์ เขาเป็นคนหนึ่งที่ได้เข้าเป็นสมาชิกพลเรือนผู้ร่วมก่อตั้งคณะราษฎร จรูญเป็นผู้ที่กระตือรือร้นอย่างมากและเขานี่เองที่เร่งรัดผลักดันใหัมีการตัดสินใจลงมือในวันเวลาที่ชัดเจน เขาน่าจะมีสายสัมพันธ์ที่แนบแน่นกับปรีดี เพราะปรากฎในเกร็ดประวัติศาสตร์อ้างโดยงานเขียนในเว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ว่า ในการออกเดินทางลี้ภัยปี 2476 ของปรีดีซึ่งต้องผ่านไปทางสิงคโปร์นั้น จรูญเป็นหนึ่งในสามคนที่เดินทางไปส่ง แม้จะมีรายละเอียดที่ไม่ลงรอยนักว่าไปส่งที่ไหนแน่เพราะบทความหนึ่งเขียนไว้ว่าไปส่งถึงปีนัง ขณะที่อีกบทความหนึ่งบอกว่าไปถึงสิงคโปร์ อย่างไรก็ตามนายจรูญไปส่งปรีดีพร้อมกับบุคคลอีกสองคนคือหลวงทัศนัยนิยมศึก และ ร.ท.ทวน วิชัยขัทคะ (ก่อนการอภิวัฒน์สยาม 2475: […]

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Crack Politics,Columnist

2564 ยังไร้สัญญาณประนีประนอม

Reading Time: < 1 minuteหลายประเทศติดกับดักของความขัดแย้งแบ่งขั้วรุนแรง (Deep polarization) ประเทศไทยเป็นหนึ่งในนั้น และเมื่อประเทศใดก็ตามเข้าสู่กับดักของความขัดแย้งชนิดนี้ นักวิจัยสรุปว่าจะหาทางออกจากกับดักนี้ได้ค่อนข้างยาก

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Columnist

เราต่างมีแสงสว่างในตัวเอง

Reading Time: 3 minutesบันทึกเรื่องราวหนุ่มสาวในยุค 2000 เมื่อเวลายังคงเดินหน้าไปไม่หยุด แต่แสงสว่างของผู้คนตัวเล็กตัวน้อย ยังถูกเบียดบังกดทับไม่ต่างจากเดิม 

วิภาพร วัฒนวิทย์

GRID • CONTENT

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

ที่ไม่ถูกนับ

Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 19 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus

อุปสงค์ที่ถูกปั่นโดยผู้ให้บริการ : ความป่วยไข้ในระบบสาธารณสุขไทยที่รักษาได้

Reading Time: < 1 minuteปัญหา Supply Induced Demand ในระบบสาธารณสุขไทยเป็นประเด็นเชิงโครงสร้างที่ต้องการการแก้ไขในระดับนโยบาย ไม่ใช่เพียงการเพิ่มจำนวนบุคลากรทางการแพทย์หรือการเพิ่มงบประมาณเพียงอย่างเดียว การเพิ่มงบประมาณเข้าสู่ระบบโดยไม่มีการปฏิรูปโครงสร้างแรงจูงใจและกลไกการจัดสรรทรัพยากร อาจเป็นเพียงการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุและไม่ยั่งยืน

คำสั่งนาย ศีลธรรม และความรุนแรง

Reading Time: 2 minutesในขณะที่คุณเป็นเจ้าหน้าที่รัฐ คุณก็เป็นมนุษย์ด้วย… และมนุษย์ต้องมีจิตสำนึกเป็นของตนเอง

MIX

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
el nino เอลนีโญ เอลนีโญ่ โลกร้อน โลกรวน น้ำแล้ง ภัยแล้ง News,Environment

เอลนีโญมา ‘ถ้าไม่มีน้ำ เศรษฐกิจก็จบ’

Reading Time: 3 minutesเพราะภาคการเกษตรในประเทศไทยยังคงเป็นโมเดลรองจากอุตสาหกรรม และหากย้อนไปในสมัยก่อนจะพบว่า ภาคกลางใช้น้ำชลประทาน 100% เกษตกรไม่มองน้ำต้นทุนของตนเอง ถมที่ทั้งหมดเพื่อทำการเกษตร แต่หลังจากนั้นสิบกว่าปีก็เริ่มแล้ง เมื่อต้องการมองหาพื้นที่สาธารณะที่สามารถรองรับน้ำต้นทุนได้ก็กลับไม่เจอ

ณัฐพร เทพานนท์

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

เดินหน้าสู่ปีที่ 19 ของความขัดแย้ง

Reading Time: < 1 minuteความขัดแย้งที่เชื่อกันว่าสงบลงก่อนหน้า เป็นแต่เพียงการเข้าสู่จุดเปลี่ยนผ่าน ก่อนหน้าปี 2547 ความขัดแย้งในพื้นที่นี้ปรากฎตัวซ้ำซากมาเนิ่นนาน บางเวลาก็หยุดหายไป บางเวลาก็ปะทุขึ้นมาใหม่เสมือนเปลวไฟที่ได้เชื้ออย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยต้องการแหวกวงล้อมจากวิธีคิดและแนวปฏิบัติเดิม ๆ เพราะชัดเจนว่าที่ทำมานั้นไม่ได้ผล

‘เพื่อชีวิตกู’ เพื่อชีวิตใครในสามตัวโน้ตของอาชีพสามัญประจำเพลงเพื่อชีวิต

Reading Time: 4 minutesเพลงเพื่อชีวิตไม่เคยหายไปจากสังคมไทย สังคมไทยยังมอบการสู้ชีวิตให้กับคนหลายกลุ่มอยู่เสมอ ตั้งแต่อาชีพรับจ้างหาบเร่ ไปจนถึงพนักงานออฟฟิศเงินเดือนครึ่งแสนก็เป็นได้

แด่ลุงเต้ย

Reading Time: 2 minutesแววตาเศร้าถูกฉายจากดวงตาของแก มันติดตัวมาตั้งแต่กำเนิด หรือเกิดขึ้นจากบางช่วงชีวิตที่ดิ่งต่ำ มันเศร้าจนต้องแอบแปลความหมายเอาเองว่า มันคือถ้อยคำเรียกร้องความเข้าใจต่อชีวิตของแก แต่มันช่างเป็นการแปลความที่ต่างจากความเป็นจริงที่แกเป็น ไม่เคยร้องขอไม่ตีโพยตีพาย ยอมรับอย่างดุษฎีต่อทุกช่วงของชีวิต ที่อาจตรงอยู่บ้างคือความเศร้า เศร้าจากชีวิตที่ตกต่ำจนขีดสุด “คนไร้บ้าน” คือจุดต่ำสุดที่ว่า

SLIDER • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Columnist

Comuna 13 เศษส่วนของโคลอมเบียที่มีตัวตน

Reading Time: < 1 minute​ผมคิดว่า คนไทยไม่น้อยรวมถึงผมเอง จึงมีภาพจำว่าโคลอมเบียเป็นประเทศที่ไม่ปลอดภัย อาชญากรรมน่าจะเกิดขึ้นง่ายดายบนท้องถนน วันที่ 11-17 มีนาคม ที่ผ่านมา ผมมีโอกาสไปประชุมวิชาการสาขามานุษยวิทยาที่เมืองเมะเดยิน (Medellin) เมืองใหญ่อันดับสองรองจากเมืองโบโกต้าซึ่งเป็นเมืองหลวง 

Play Read

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

SLIDER • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Gender & Sexuality

นมแม่ดีที่สุด…ยังส่งไม่ถึงลูกทุกคน

Reading Time: 3 minutesนมแม่ดีที่สุด แต่ทำไมยังส่งไม่ถึงลูกทุกคน? ปัญหาที่ทำให้นมแม่ยังไม่สามารถไปถึงลูกได้อย่างครอบคลุม เช่น ปัญหาห้องให้นมที่ไม่ครอบคลุม ทำให้คุณแม่หลายคนต้องมีผ้าคลุมเพื่อปกปิดใบหน้า แต่เด็กบางคนก็ไม่ชอบทำให้อาจต้องใช้เวลามากขึ้นในการให้นม รวมถึงในเวลาทำงานที่ปกติแล้วต้องให้นมหรือปั๊ม โดยเฉลี่ยทุกๆ 2-3 ชั่วโมง ซึ่งหากเกินกว่านั้นก็จะเกิดผลกระทบกับแม่และเด็กทั้งอาการทางร่างกาย รวมไปถึงด้านสภาพจิตใจ

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​
Gender & Sexuality,Inequality,Story

“ผู้รอดชีวิต”จากอำแดงเหมือนถึงเฟมทวิต ความรุนแรงต่อผู้หญิงในสังคมไทยเมื่อไหร่จะเป็นวาระแห่งชาติ

Reading Time: 3 minutesจากเหตุเด็กหญิงถูกผู้นำชุมชนข่มขืนที่บ้านกกตูม ถึงประเด็นความสมยอมร่วมของความสุขทางเพศในโลกออนไลน์ จากอำแดงเหมือนถึงเฟมทวิต ความรุนแรงต่อผู้หญิงในเชิงวัฒนธรรมได้ตัดผ่านทุกช่วงอายุ ทุกเพศสภาพ และทุกชนชั้น หากประโยคที่ว่า “ข่มขืนเท่ากับประหาร” ดูสิ้นหวังเกินไปกับความเป็นมนุษย์ เรามาเริ่มต้นกันที่รากเหง้าของความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม น่าจะเข้ากับบรรยากาศแบบเบิกเนตรของปี 2021 มากกว่า

อโนมา สอนบาลี
Inequality,Crack Politics,Economy,Story

เป็นจั่งใด๋แรงงานอีสานไหลกลับ เปิดแนวรบ ‘ทำแทน’ สตาร์ตอัปลูกผสม หยุดเลือดไหลไว้ที่โคราช

Reading Time: 3 minutes“พี่จำได้ว่าตอนนั้นถ่ายรูปไป 2 โหล เพื่อเอาไปสมัครงาน หมดเงินไปหลายร้อย แต่น้องเชื่อไหมว่าพี่ไม่ได้สักที่เลย จนในกระเป๋าเหลือรูปถ่ายแค่รูปเดียว พี่ก็เอารูปนั้นแหละมาสมัครที่ทำแทน วันที่มาสัมภาษณ์พี่ยังลุ้นอยู่เลยว่าถ้าเขาขอสองรูปจะทำยังไงดี”

ภาวิณี คงฤทธิ์
Crack Politics

โลกเดือดทางสภาวะภูมิรัฐศาสตร์

Reading Time: < 1 minuteหากเอ่ยคำว่า “โลกเดือด” คนส่วนใหญ่อาจจะนึกถึงสภาวะที่อุณหภูมิโลกสูงขึ้นหรือร้อนขึ้นเรื่อยๆ โดยในปีที่แล้วและปีนี้ โกของเราถูกบันทึกว่า “ร้อนที่สุดเป็นประวัติการณ์” กระทั่งถึงจุดที่ส่งผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่งต่อการดำรงอยู่ของมนุษยชาติทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ระบบนิเวศ รวมถึงสุขภาพของมนุษย์ ผู้เชี่ยวชาญจำนวนมากรวมถึงองค์การสหประชาชาติจึงกล่าวว่า ณ ห้วงเวลาปัจจุบันถือว่ายุคโลกร้อนสิ้นสุดลงแล้ว และเรากำลังเดินหน้าเข้าสู่ยุคโลกเดือด (Global Boiling)

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Conflict Resolution,Environment,News

ทำงานเก็บเงิน-สุขสม-รมขยะ

Reading Time: 4 minutesวิกฤตโรงงานระบาดที่โรงขยะอ่อนนุช ชาวบ้านที่ต้องทนกับกลิ่นเหม็นจากนโยบายปลายปากกาของรัฐบาลประยุทธ์ เสียงสุดของชุมชนรอบโรงงานที่ไม่ถูกนับเป็นที่อยู่อาศัย ในวันที่ไม่อยากใช้อากาศหายใจ

นราธิป ทองถนอม

SLIDER TO GRID • CAPTION