seeddemo - Decode

SLIDER • HEADLINE

GRID • HERO

Play Read

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

Human & Society

ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’

Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด

Human & Society

ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้

Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Crack Politics

หลังบ้านทะลุวัง แรงโกรธและการต่อสู้ของผู้หญิง

Reading Time: 3 minutesDe/code พูดคุยกับตัวแทนของกลุ่มทะลุวัง บิวตี้ วิชญาพร ตุงคะเสน, บุ้ง เนติพร เสน่ห์สังคมและใบปอ–ณัฐนิช ดวงมุสิทธิ์ หลังจากเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ในวันที่พวกเขาบอกว่า ยังคงเดินอยู่บนหลักการเดิม เพียงแค่วิธีการเคลื่อนไหวไม่ถูกใจสังคมที่เป็นอนุรักษนิยมอย่างสังคมไทย

GRID • CARD

Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Human & Society,Life Matters

ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’

Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด

ณัฐณิชา มีนาภา
Human & Society

ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้

Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ

โรสนี นูรฟารีดา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Crack Politics

‘ไม่มีนิติศาสตร์’ ในคดี ‘ยุบ’ ก้าวไกล แต่ประชาชน ‘ไม่สิ้นหวัง’ มองสองมุมนิติศาสตร์ VS รัฐศาสตร์

Reading Time: 2 minutesการยุบพรรค และการตัดสิทธิทางการเมือง เกิดขึ้นหลายครั้งในช่วงที่ผ่านมา ผศ.ดร.เข็มทอง ตันสกุลรุ่งเรือง ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายรัฐธรรมนูญ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยืนยันว่าคือ ‘นิติสงคราม’ ที่ดำเนินอยู่มีความรุนแรง และยาวนาน ทั้งแสดงให้เห็นว่า”ผู้มีอำนาจเขาเปลี่ยนใจไม่ได้ หรือ เปลี่ยนไม่เป็น

Decode
Economy

ปริศนาหน้าฟาร์มถึงหน้าเขียง ใครคุมราคาหมู

Reading Time: 7 minutesหลังการแพร่ระบาดของโรค ASF(อหิวาก์ตกโรคหมู) ในปี 2565 และการจับกุมหมูเถื่อนตั้งแต่ 2564-ปัจจุบัน กว่า 5 ล้านตันเป็นอย่างต่ำ จำนวนเกษตรกรที่หดหาย เพราะเสียหายหนักจากโรค ยิ่งโดนกระหน่ำซ้ำด้วยราคาขายที่ต่ำลง ในขณะที่ต้นทุนมีแต่จะแพงขึ้นทุกวัน หมูแพง เป็นเพียงฉากหน้าของการสั่นคลอนความมั่นคงทางอาหารของคนไทย เมื่อ 1 ใน 3 ของเนื้อสัตว์ที่คนไทยบริโภคมากที่สุดกำลังเผชิญปัญหากับการกินรวบที่อาจทำให้คนเลี้ยง คนขาย และคนกิน อาจต้องบริโภคหมูในราคามากกว่า 300 บาทก็เป็นได้ถ้าเรายังรู้ว่าหน้าฟาร์มถึงหน้าเขียง ใคร เป็นคนคุมราคาหมู

นทธร เกตุชู

GRID • LIST • PAGINATION

ปูนิ่ม น้ำปลาหวาน คลื่นลูกที่สองของท้องถิ่นนิยม

Reading Time: 2 minutesวันที่เมืองหยุดทำงาน ท้องถิ่นจึงชัดเจน เราอาจรู้สึกแปลกใจเมื่อในเวลานี้หน้าฟีดเฟซบุ๊กเริ่มเห็นคนจำนวนไม่น้อยที่โพสต์ขายอาหาร – สินค้าซึ่งส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่เป็น ‘ของท้องถิ่น’ เราพบสาคูแท้จากพัทลุงปลาหวานส่งตรงจากชาวเล หาดราไวย์ปลาแห้งจากสตูล ไม่ใช่ท้องถิ่นเพิ่งเริ่มตั้งตัวหากแต่ท้องถิ่นนั้นคงอยู่และทำหน้าที่ของมันเสมอมา เนิ่นนาน

อุ่นแดดที่ตากใบ ความไม่บังเอิญบนเส้นทางสายใหม่ตากใบ-กลันตัน

Reading Time: 2 minutesอุ่นแดด 1,171 กิโลเมตร จากกรุงเทพถึงตากใบ … เราถูกเชื้อเชิญมาที่นี่พร้อมความหวังของชาวบ้านที่ลุกโชนขึ้นกับการก่อรูปก่อร่างเส้นทางใหม่ของการท่องเที่ยวเชิงชุมชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ จากตากใบ นราธิวาส ถึง กลันตัน มาเลเซีย… 6 โมง 10 นาที พระอาทิตย์โผล่พ้นผืนน้ำไม่ผิดเวลาจากที่ชาวบ้านบอกไว้แม้แต่นาทีเดียว เบื้องหน้าคือทะเลอ่าวไทยไกลสุดลูกหูลูกตา เบื้องหลังคือแม่น้ำตากใบที่ทอดตัวยาวมาจากแม่น้ำสุไหงโกลก สะพานไม้เก่าขนาบคู่สะพานคอนกรีตที่เพิ่งสร้างใหม่ ชาวบ้านที่นี่เรียกว่า ‘สะพานคอย 100 ปี’ สะพานที่ตัดขวางข้ามแม่น้ำตากใบมายัง “เกาะยาว​”  ที่เรายืนอยู่นี้ มันเชื่อมพี่น้องมุสลิมชาวเกาะยาวกับพี่น้องไทยพุทธบนแผ่นดินใหญ่มาเนิ่นนานนับร้อยปี ที่นี่ถูกปักหมุดไว้ให้เป็น 1 ในจุดหมายของเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงชุมชนที่ชาวบ้านกำลังสร้างขึ้นมา เพื่อหวังว่า 3 จังหวัดชายแดนใต้จะกลายเป็นปลายทางหนึ่งของนักท่องที่ยวต่างชาติหรือภายในประเทศเอง …แต่ดูเหมือนภาพความสวยงามเบื้องหน้ากลับขัดแย้งกับความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ 4 มกราคม 2547 หลังเหตุการณ์ปล้นปืนจากกองพันพัฒนาที่ 4 ค่ายกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ หลังกระสุนนัดแรกถูกลั่นไกออกไป ดูเมือนแรงสั่นสะเทือนของกระสุนนัดนั้นจะสร้างรอยปริแตกให้เกิดขึ้นทั่วทุกพื้นที่ชายแดนใต้ “หลังเหตุการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้น ความสัมพันธ์ของพวกเรา 2 ชุมชนก็เปลี่ยนไป จากเคยกินนอนด้วยกัน เดินไปโรงเรียนด้วยกัน ไปมาหาสู่กัน มันกลายเป็นความไม่สนิทใจ ความสงสัยที่เราก็ไม่รู้ว่ามันคืออะไรแต่มันรู้สึกแบบนั้น” คำบอกเล่าของอาจารย์จักรคนในพื้นที่ชุมชนวัดชลธราสิงเห ย้อนให้เราฟังถึงความสัมพันธ์ในครั้งก่อน […]

เดลิเวอรี = ทางรอด #Saveร้านอาหาร ดำน้ำฝ่าวิกฤตโควิด19

Reading Time: 4 minutesหากอยากให้ราเมงชามนี้อร่อยอย่างที่ตั้งใจไว้ เคล็ดไม่ลับที่เจ้าของร้านบอกได้ คือ ต้องใช้เวลาลวกเส้นราว ๆ 2 นาที ความร้อนของน้ำซุป ความนุ่มความเนื้อ และกลิ่นหอม จะปรุงกันจนเป็นความลงตัว เป็นราเมงชามโตที่ไม่ใช่เพียงแค่ช่วยให้ท้องอิ่ม แต่เป็นรสชาติที่ลูกค้าสามารถ “ดื่มด่ำ” ทั้งรส และบรรยากาศในร้าน แต่ทันทีที่โควิด-19 ตีชิดถึงประตูร้าน ทุกกระบวนท่าของการทำราเมงของร้านราเมงเนื้อ นาม “งัว” ร้านนี้ก็เปลี่ยนไป

หนูเป็นได้แค่กองทุนปันผล คุณหลอกดาว หรือ ดาวยังดีไม่พอ

Reading Time: 2 minutesลูกคือความสบายใจของพ่อแม่ ลูกที่ดีต้องไม่ทำให้บุพการีทุกข์ใจ น้ำตาแม่ความไม่สบายใจของพ่อคือบาปของลูก หากลูกจะตั้งคำถามกับขอบเขตความกตัญญู มองพ่อแม่ในฐานะมนุษย์คนหนึ่งที่ควรเคารพพื้นที่ของกันและกัน

ดีลป่าแลกเหมือง การเผชิญหน้าของป้ายผ้า ปากกาหลากสี

Reading Time: 2 minutes11 พฤศจิกายน 2562…เปิดฉากการต่อสู้กรณีเหมืองอมก๋อยกับการเข้ารับฟังข้อกล่าวหาของ 2 นักต่อสู้รุ่นใหม่ในพื้นที่อย่างพี่โจและพี่เบิ้ม ณ สถานีตำรวจอำเภออมก๋อย พร้อมกำลังใจจากพี่น้องแนวร่วมอีกหลายสิบชีวิต

คิกออฟยังธน เพราะไม่ไหวจะทน บนที่ยืนที่เหลืออยู่

Reading Time: 3 minutes“จริงๆ บินไปก่อนก็ดีเพราะเราเองก็เริ่มจากการบินไปก่อนเหมือนกัน” คือหนึ่งประโยคจาก เมฆ สายะเสวี สถาปนิกหนุ่มอารมณ์ดีที่มีความฝันต่างไปจากคนรุ่นใหม่ทั่วๆ ไป ในยุคที่ใครหลายคนคิดจะบินหนีไปจากบ้านเพราะทนความปวดใจที่บ้านหลังนี้มอบให้ไม่ไหว

1 201 202 203 204

GRID • CAPTION

GRID • CARD • HIDE SUMMARY

Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Human & Society,Life Matters

ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’

Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด

ณัฐณิชา มีนาภา
Human & Society

ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้

Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ

โรสนี นูรฟารีดา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Conflict Resolution,Environment

ร่องสะกายแยก เหล็ก SKY โผล่ ฝุ่น(แดง)ใต้พรม ‘โรงงานจีน’

Reading Time: 3 minutesอาคารสำนักงานสตง.ที่ได้ถล่มเพราะเหตุแผ่นดินไหวครั้งนี้ ไม่ได้เปิดแผลแค่ระบบการเตือนภัยที่ภาครัฐล่าช้าในการแจ้งประชาชน แต่ยังเปิดแผลเดิมที่ไม่เคยตกสะเก็ด อย่างโรงงานข้ามชาติที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานและความโปร่งใสตั้งแต่การอนุญาตและดำเนินการของหน่วยงานราชการ

นทธร เกตุชู
Story

แปะป้าย ‘นักโทษประหาร’ ไม่ควรมีใครสมควรตายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย

Reading Time: 2 minutesพูดคุยกับโชคชัยอดีตนักโทษประหารชีวิต เมื่อเขากล่าวว่า “คนผิดกับคนชั่ว ในหลายครั้งไม่ใช่คนเดียวกัน” และการประหารชีวิตคือสิ่งที่ทำให้เขาเหล่านั้นไม่มีโอกาสกลับมา 

พริม มณีโชติ
Inequality,Economy,Story

เศรษฐกิจซึมยาว ฆ่าตัวตายซึมลึก ‘ปีที่แล้วเผาหลอก ปีนี้เผาจริง ปีหน้าเก็บกระดูก’

Reading Time: 2 minutesศพของแม่ถูกเผาไปแล้วในช่วงเช้า ส่วนศพของพี่สาวกำลังจะตามไปในตอนบ่าย ก่อนจะถึงเวลาเผาศพเฮียตี๋ แม้จะตัดสินใจจากโลกนี้ไปพร้อมกัน 11 ชีวิตรวมหมาอีก 6 ตัว แต่ในการประกอบพิธีศพร่างของภรรยาและลูกชายวัย 11 ขวบของเฮียตี๋เจ้าของเต็นท์รถก็ถูกพี่สาวของภรรยาขอแยกไปประกอบพิธีเอง มวลความเศร้ายังคงหนักอึ้งสำหรับผู้ที่มาร่วมงาน ถ้าไม่นับเสียงดนตรีที่ดังคลออยู่ตลอดเกรงว่าแม้แต่การขยับตัวของใครสักคนก็คงเป็นเสียงที่ดังเกินไป

กาญจนา ปลอดกรรม
Inequality,Columnist

รัตนโกสินทร์แห่งชีวิต

Reading Time: < 1 minuteไม่มีที่ไหนในโลกเสมอเสมือนกรุงเทพมหานคร กรุงเทพฯเป็นทั้งเมืองศักดิ์สิทธ์และเมืองบาป เป็นเมืองหลวงของศิลปะวัฒนธรรมและที่สุดของความไร้รสนิยม ทั้งรโหฐานและคับแคบ ฟุ้งเฟ้อและกระเหม็ดกระแหม่ อิสระเสรีและจำกัด ทะเยอทะยานและสิ้นหวัง เจิดจ้าและซอมซ่อ

วีรพร นิติประภา

GRID • CONTENT

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’

Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด

ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้

Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

ผลพวง(ไม่)เลื่อนสอบทีแคส64 สึนามิการศึกษาไทยซัดเข้าฝั่งเศรษฐกิจ โดมิโนตัวสุดท้ายกลายเป็นคนแพ้ถูกคัดออก

Reading Time: 2 minutesประเทศไทยอาจเป็นประเทศแรกในโลกที่เด็กนักเรียนฟ้องศาลให้เลื่อนสอบ จากสถานการณ์โรคระบาดและความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไป แนวโน้มเด็กไทยเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยลง เพราะพวกเขาคือโดมิโนตัวสุดท้ายในสายพานความพังของระบบการศึกษา De/code ชวน ผศ. อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งในครูผู้เรียกร้องสิทธิร่วมกับเด็กพูดคุยเรื่องเสียงที่ผู้ใหญ่ไม่ได้ยิน

ร้อน แล้ง ลมแรง: ไฟป่าและวิกฤติสภาพอากาศของโลกที่กำลังลุกเป็นไฟ

Reading Time: 2 minutesปี 2024 อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกแตะระดับที่สูงกว่าช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมถึง 1.5 องศาเซลเซียสเป็นครั้งแรก การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ได้เป็นเพียงตัวเลขทางวิทยาศาสตร์ แต่มันสะท้อนถึงความจริงที่น่ากลัวว่าโลกใบนี้กำลัง “ร้อน” และกำลัง “เปลี่ยนแปลง” ในรูปแบบที่เราคาดการณ์ได้ยากขึ้นทุกที หนึ่งในผลกระทบที่เห็นชัดที่สุดจากความร้อนที่เพิ่มขึ้นคือไฟป่า ซึ่งทวีความรุนแรงและเกิดขึ้นบ่อยครั้งมากขึ้นในหลายพื้นที่ของโลก 

เมื่อมนุษย์กำลังถูกแทนที่ ‘วรรณกรรมที่แท้จริงน่ะ ต้องใช้คอมพิวเตอร์เขียนเท่านั้นไม่รู้เหรอ’

Reading Time: 2 minutesการมาแทนของหุ่นยนต์ใน “วรรณกรรมที่แท้จริงน่ะ ต้องใช้คอมพิวเตอร์เขียนเท่านั้นไม่รู้เหรอ” ไม่ได้เป็นไปเพื่อตอบคำถามเฉพาะเรื่องความด้อยกว่าหรือเหนือกว่าของมนุษย์เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงนำมาสู่คำถามอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อเครื่องจักรมาแทนมนุษย์และมีรูปร่างเหมือนกัน

MIX

Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Human & Society,Life Matters

ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’

Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด

ณัฐณิชา มีนาภา
Human & Society

ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้

Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ

โรสนี นูรฟารีดา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Welfare state

ถอดโมเดล “กลุ่มคนดูแลกันเอง” ช่วยคนตรงหน้า ด่ารัฐบาล เรียกร้องรัฐสวัสดิการ

Reading Time: 2 minutesหากเราไม่ “วิจารณ์รัฐบาล” มันคือการเมินเฉยต่อเรื่องนี้อย่างน่าละอาย คำถามสำคัญคือ เราสามารถช่วยชีวิตผู้คน สนับสนุนด่านหน้า เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง เรียกร้องรัฐสวัสดิการ พร้อมด่ารัฐบาล ไปพร้อมกันได้หรือไม่ วันนี้ผมจะพาถอดรหัส “กลุ่มคนดูแลกันเอง” ซึ่งสามารถทำทุกอย่างข้างต้นได้ในพร้อมกัน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’

Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด

ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้

Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

ชิ้นส่วนของดวงดาวแตกสลายแต่ไม่กลายเป็นอื่น

Reading Time: < 1 minuteวัยเยาว์จ้องมองฉัน ก้าวต่อก้าว อดีตและอนาคตบรรจบกันที่ปัจจุบัน ความเปลี่ยนแปลงอาจเขย่าท้องฟ้า ชิ้นส่วนของดาวบางดวงร่วงลง แตกสลายแต่ไม่กลายเป็นอื่น

รู้จักแรงงานดิจิทัล: ฟรีแลนซ์และกรรมกรแพลตฟอร์ม งานออฟไลน์สู่ออนไลน์ ความอิสระที่ไม่อิสระ

Reading Time: 4 minutesพัฒนาการของเทคโนโลยีดิจิทัลมีผลทำให้ตลาดการจ้างงานส่วนหนึ่งกลายเป็นตลาดออนไลน์ ขณะที่ความเข้าใจเกี่ยวกับการจ้างงานแบบเก่าบนโลกออฟไลน์และการกำกับดูแลจากรัฐแบบเดิมๆ ไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ใหม่ๆ จากการจ้างงานที่เชื่อมต่อโลกออฟไลน์กับออนไลน์ได้

เมืองในฝันที่ 100 ชัชชาติก็ทำไม่ได้ แล้วเมื่อไรท้องถิ่นไทยจะไปถึงฝั่งฝัน

Reading Time: 4 minutesหากเมืองคุณทุกสิ่งที่ล้อมรอบตัวเรา แล้วทำไมการสร้างเมืองในฝันถึงเป็นเรื่องที่ยากนัก? De/code ร่วมถอดรหัสปัญหาเมือง ในกิจกรรมเปิดตัวผลงาน Data Story “ท้องถิ่นไทยทำไม(ยัง)ไปไม่ถึงฝั่งฝัน? งบประมาณท้องถิ่น จัดการตัวเองได้แค่ไหน ภายใต้ข้อจำกัดของรัฐไทย”

ที่ไม่ถูกนับ

Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 19 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus

SLIDER • HERO

Play Read

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

Human & Society

ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’

Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด

Human & Society

ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้

Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Interviews

ลบไม่ได้ช่วยให้ลืม ‘คนตัวเล็ก’ ในประวัติศาสตร์กระแสรอง

Reading Time: 3 minutesชวนอ่านเรื่องราวนิทรรศการของคนตัวเล็กๆ ของประวัติศาสตร์กระแสรอง เรื่องราวที่ไม่ได้อยู่ในแบบเรียน ใน The battle wound และกล่องฟ้าสาง

Young Spirit

พลเมืองโลก

Reading Time: < 1 minuteหลายปีก่อนราว ๆ ปลายทศวรรษที่ 90s ราวปี 2538 ตอนยังทำงานเอเจนซี่โฆษณาก็ได้มีโอกาสสนิทสนมกับเด็กสาวอายุ 18 คนหนึ่ง น้องมาจากนิวซีแลนด์ บางหนขณะกำลังนั่งคุยกันก็แอบเห็นเธอตอบอีเมลล์เพื่อนไปด้วยกับพึมพำประโยคที่กำลังพิมพ์ไปด้วย และประโยคทักทายที่ถามกันไปมาเป็นปกติก็ไม่ใช่ How are you? แต่เป็น Where are you?

SLIDER • CARD

Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Human & Society,Life Matters

ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’

Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด

ณัฐณิชา มีนาภา
Human & Society

ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้

Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ

โรสนี นูรฟารีดา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Play Read

การเมืองเรื่อง ‘ไฟ’

Reading Time: 3 minutesชาวบ้านอยากใช้ไฟ แต่รัฐอยากดับไฟ ทศวรรศของการช่วงชิงนิยามของไฟ เมื่อป่ากลายเป็นทรัพย์สินของรัฐ ไฟกับคนจึงจำเป็นต้องออกมาจากป่า?

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Crack Politics,Columnist

ถอดรหัสรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยามประเทศ

Reading Time: < 1 minuteแท้ที่จริงแล้ว รัฐธรรมนูญฉบับที่ 10 ธันวาคม 2475 นั้นเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 ของไทย เป็นกติกาการปกครองประเทศอันเป็นผลมาจากการ “ประนีประนอม” ระหว่างผู้นำในระบอบใหม่ ซึ่งก็คือคณะราษฎรที่นำโดย ดร.ปรีดี พนมยงค์ กับชนชั้นนำของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่มีจุดศูนย์กลาง

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Economy,Inequality,Interviews

ในวันที่เจ็บหนักและไปไม่ถึงดาว 400 ดวง ‘ยาพารา’ยาใจของไรเดอร์ ‘แพลตฟอร์ม’กลายเป็นยาขม

Reading Time: 3 minutes‘อาชีพอิสระ สิทธิ์ที่พึงได้ อายุการใช้งาน ยาพารา และใบจำนำของ’ 4-5 อย่างนี้ คือข้าวของ และเหตุการณ์ที่เราอยากเล่าผ่านชีวิตไรเดอร์คนหนึ่ง

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
Welfare state

บัตรทองทุกที่ ‘ครอบคลุม’ ทุกหนี้โรงพยาบาล?

Reading Time: 3 minutesจาก 30 บาทรักษาทุกโรค สู่ “30 บาทรักษาทุกที่” ชวนคนในแวดวงสาธารณสุขเช็คอาการทางสังคม ความจริงที่ยังซุกซ่อนอยู่ในระบบหลักประกันสุขภาพพร้อม ๆกับการตรวจสุขภาพทางการเงินของโรงพยาบาล ความท้าทายสำคัญที่สปสช. ต้องดำเนินการควบคู่ไปกับการป้องกันโรค

ณัฐณิชา มีนาภา

SLIDER TO GRID • CAPTION