
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Conflict Resolution
หลัง COP29 รัฐไทยก้าวไม่ทันกับความแปรปรวนของโลก
Reading Time: 3 minutesชวนหาคำตอบกับความสูญเสียที่ประเทศไทยได้รับจากภัยพิบัติในปีที่ผ่านมา ประเทศไทยอยู่ในส่วนใดของกองทุนช่วยเหลือ และไม่ว่าจะได้รับเงินสนับสนุนด้านการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศหรือไม่ วันนี้รัฐบาลไทยควรเร่งพัฒนาสิ่งใดเพื่อพาประเทศไปสู่ข้อตกลงทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริง
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
อำนาจ ศิลปะ และการมองเห็น
Reading Time: 2 minutesหากว่าการเมืองถูกสร้างภาพจำมาว่าคือความวุ่นวาย และศิลปะคือความบริสุทธิ์ที่คอยจรรโลงใจ ศิลปะและการเมือง 2 สิ่งนี้ควรแยกออกจากกันหรือเปล่า?
‘การเมืองทัศนา’ หนังสือที่เขียนโดย ผศ.ดร.บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง และดำรงตำแหน่งรองคณะบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จะพาเราย้อนกลับไป สำรวจอำนาจศิลปะที่ถูกใช้คู่ขนานไปกับการเมือง
’ฟอกเขียว’ ในตลาดคาร์บอนเครดิต ควักเงินจ่ายเพื่อมีสิทธิ์สร้างมลภาวะเพิ่ม?
Reading Time: 3 minutesแนวคิดของคาร์บอนเครดิตคือการสร้างแรงจูงใจให้บริษัทเหล่านี้ รับผิดชอบต่อการใช้สอยประโยชน์ทรัพยากรของสาธารณะ หรือเป็นเพียงแค่ช่องโหว่ทางเศรษฐศาสตร์ ที่จะให้นายทุนสามารถปล่อยของเสียต่อไปได้ เพียงแค่ให้ตัวเลขของคาร์บอนเครดิตจากกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละบริษัทเพิ่มมากขึ้น
ค่าแรงแลกค่าเทอม เมื่องานไม่มี เรียนฟรีก็ไม่มีอยู่จริง
Reading Time: 2 minutes“ปกติเสาร์อาทิตย์จะไปรับขายของตามห้าง เวลามีบู๊ทต่าง ๆ แต่ตอนนี้ห้างก็ปิดหมด” เรื่องเล่านี้ที่ฟังเผิน ๆ อาจเป็นปัญหาความทุกข์ใจของคนวัยทำงานที่ถูกพิษโควิด-19 เล่นงานเสียแล้ว แต่ไม่ใช่ นี่เป็นเรื่องราวของเด็กสาววัย 15 ปี ที่ต้องตกอยู่ในสถานะคนตกงานไม่ต่างจากบรรดาผู้ที่มีสิทธิยื่นขอรัยเงินช่วยเหลือ 5,000 บาทจากรัฐบาลอยู่ในขณะนี้
GRID • LIST • PAGINATION
ONLY HUMAN บนเส้นทางประชาธิปไตย
Reading Time: 3 minutesเรายังไม่ลืม ไม่เคยลืม แต่มันชัดเจนอีกครั้งจากภาพแรกที่พร่าเลือน ถึงภาพสุดท้ายที่มัว ๆ แสงสลัว ๆ จากกลางวันที่แสงสว่างสาดส่อง ปิดจบด้วยค่ำคืนที่มืดมัว มืดจนวันนี้ก็ยังมืด
ความฝันนั้นมีเสียง สิ้นสลายในวันที่กองทัพเมียนมาก่อรัฐประหาร
Reading Time: 3 minutesฟังเสียงความฝัน ในวันที่มินอ่องลายรัฐประหาร 3 ปีผ่านไป แต่ 3 ความฝันของคนรุ่นใหม่ที่กลับบ้านและเห็นบ้านเกิดเป็นประชาธิปไตยยังคงอยู่
The Lost Forest เกิดขึ้น กินอยู่ สูญพันธุ์ไป
Reading Time: 3 minutesเพราะธรรมชาติเป็นของฟรีเสมอในสายตามนุษย์ เมื่อคิดมูลค่าออกมาแล้วพบว่า จริง ๆแล้ว แต่ละปีธรรมชาติให้ของฟรี คิดเป็นเงินประมาณ 33 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ขณะที่ผลผลิตมวลรวมที่มนุษย์จากทุกประเทศทั่วโลกพยายามสร้างขึ้นมานั้น มีมูลค่าเพียง 18 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ น้อยกว่าที่ธรรมชาติให้มนุษย์เสียอีก
ไรเดอร์(ฝาก)ถาม ไลน์แมน(อยาก)ตอบ ก้าวสองหรือถอยสาม? ทางไกลของ ‘เศรษฐกิจแพลตฟอร์มที่เป็นธรรม’ ในสังคมไทย
Reading Time: 4 minutesขึ้นลิฟท์ไปชั้น 27 บนตึก T ONE หาคำตอบในทุกเม็ดเงินและโปรโมชั่นที่เกิดขึ้นเพื่อความ คุ้มค่า ใครบ้างที่คุ้มได้และใครบ้างที่ต้องรู้สึกว่าไม่คุ้มเอาเสียเลย แล้วกลไกหรือข้อจำกัดอะไรที่ทำให้ความคุ้มค่าของเราไม่เท่ากันกับ อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ รองประธานฝ่ายนโยบายสาธารณะและรัฐกิจสัมพันธ์ LINEMAN Wongnai
หลายเรื่องที่ไรเดอร์อยากถามและหลายอย่างที่แพลตฟอร์มไลน์แมนอยากทำความเข้าใจกับสังคมให้ตรงกัน หรือเพราะความคุ้มค่าในแต่ละออเดอร์ของเราไม่เท่ากัน ทำให้วันนี้สังคมไทยยังไปไม่ถึงฝันเศรษฐกิจแพลตฟอร์มที่เป็นธรรมสักที
Never stop คดีที่ยังไปต่อ
Reading Time: 3 minutesNever stop เป็นหนังสือที่เกี่ยวกับมาตรา 112 เล่มที่สามที่ iLaw ตีพิมพ์ออกมา” หลังจากที่จัดพิมพ์ไปแล้วก่อนหน้านี้ถึงสองเล่ม คือ ‘ห้องเช่าหมายเลข 112’ และ ‘Introduction to No.112’ แต่สถานการณ์การบังคับใช้ก็ยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและทวีคูณ ผู้เขียนระบุว่า “นี่คือภารกิจขั้นต่ำ” เขาพยายามและตั้งเป้าหมายเพื่อที่จะสัมภาษณ์เพื่อบันทึกเรื่องราวของผู้โดนคดีให้ได้มากทที่สุด “เท่าที่พอจะทำได้
ภาวะโลกเดือดกับชะตากรรมของมหาสมุทร (ตอนที่ 2) มหันตภัยปะการังฟอกขาว
Reading Time: 3 minutesปัจจุบันปะการังหลายแห่งอยู่ในสภาวะเสื่อมโทรมอันเนื่องมาจากมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นมลภาวะขยะ ตะกอนจากการพัฒนาชายฝั่ง และการทำประมงมากเกินขนาด รวมไปถึงการท่องเที่ยวที่ไม่รับผิดชอบ
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ครรภ์แห่งชาติ หญิงสาวใต้บงการของรัฐไทย
Reading Time: 2 minutes“ครรภ์” และ “ชาติ” แม้จะห่างแต่กลับแยกกันอย่างไม่ขาด เพราะครรภ์เป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ ทว่าสังเวยด้วยร่างกายและครรภ์แห่งชีวิตของหญิงสาว
นักโทษทางภูมิศาสตร์ Made by China, America First
Reading Time: 2 minutesไม่ว่าพี่เบิ้ม จะไปที่ไหน ก็มักจะเหนี่ยวรั้งตัวเองไว้ด้วยความหวาดระแวง เร้าสัญชาตญาณของแย่งชิงที่ติดตัวมาแต่ดั้งเดิม แม้ว่าจะหลุดพ้นจากโซ่ตรวนของแรงโน้มถ่วง แต่ก็ถูกจองจำด้วยภูมิศาสตร์ มันคือพันธนาการที่นิยามชาติและสามารถเป็นอะไรได้อีกในระเบียบโลกใหม่ และเป็นพันธนาการที่ผู้นำโลกอย่างจีนและอเมริกาพยายามจะดิ้นให้หลุด บางฉากจึงดำเนินต่อไปในปริศนาธรรม Wherever you go, there you are. แม้ Tim Marshall จะตั้งชื่อหนังสือ Prisoners of Geography แต่ในสำนวนแปลของ คุณากร วาณิชย์วิรุฬห์ หยั่งรากไปถึงที่ที่เราอยู่คือที่ที่หล่อหลอมเรามา ฉันนึกตลกกลับหัวกลับหาง ที่ใดมีพี่เบิ้ม ที่นั่นมักเป็นอื่น ไม่ลงรอย มันคอยกำหนดโฉมหน้าของสงคราม อำนาจ การเมือง รวมถึงพัฒนาการทางสังคมของคนกลุ่มต่าง ๆ บัดนี้พี่เบิ้มได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเกือบทุกส่วนของโลก อาจดูเหมือนว่าเทคโนโลยีเอาชนะระยะห่างระหว่างพื้นที่และเวลา ก็อย่าลืมว่า ผืนดินที่เราพำนัก ทำงาน และเลี้ยงดูลูกหลานนั้นเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมและทางเลือกของผู้นำโลกบนดาวเคราะห์สีน้ำเงิน ลิขิตชะตาชีวิตด้วยแม่น้ำ เทือกเขา ทะเลทราย ทะเลสาบ และท้องทะเล เหมือนปกหลังแห่งยุคสมัยของการขับเคี่ยวชิงดีในดินแดนอันไกลโพ้น เพราะ ที่ราบ รัสเซียจึงแข็งกร้าว เพราะ ขุนเขา จีนและอินเดียจึงบาดหมาง เพราะ […]
ปฏิรูปแวดวงวิชาการ ตอน 1 : มหาวิทยาลัยประดุจบ่อน้ำบำบัดความกระหายรู้ เรากำลังดื่มอะไรเข้าไป ?
Reading Time: 2 minutesความหลากหลายของมุมมองและความเข้าใจในปัญหาของคนส่วนใหญ่ในประเทศ จะถูกสะท้อนผ่านงานวิชาการ แต่สิ่งดังกล่าวที่ว่านี้กำลังค่อย ๆ หายไป
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เปิดทางต่างชาติซื้อที่ดิน ขยายแผล ‘เหลื่อมล้ำ’ ถั่งโถมเป็นลูกคลื่น
Reading Time: 2 minutesในบางประเทศที่ผ่อนคลายกฎระเบียบการถือครองหรือการซื้อที่ดินของชาวต่างชาติ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจแบบที่รัฐบาลไทยกำลังคิดอยู่นี้ มีบทเรียนให้ศึกษาเป็นตัวอย่างแล้วว่า เมื่อเปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติมาซื้ออสังหาริมทรัพย์ จะทำให้ราคาที่อยู่อาศัยสูงขึ้น กระทั่งเกิดปัญหาขาดแคลนที่อยู่อาศัยในราคาที่เข้าถึงได้ (affordable housing) สำหรับคนในท้องถิ่น
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
มิใช่การต่อสู้ครั้งสุดท้าย III รวมกวีนิพนธ์แด่เพื่อนเมียนมา
Reading Time: 2 minutesเป็นรวมกวีนิพนธ์ที่พูดถึงเหตุการณ์ในเมียนมาได้ร่วมสมัย อย่างพยายามเข้าอกเข้าใจ และอบอวลไปด้วยสำนึกร่วมแห่งความเป็นมนุษย์มากที่สุด
ทหารพม่าและทหารไทย: คู่แฝดอุษาคเนย์
Reading Time: 2 minutes“ทหารพม่าควบคุมการเมือง ส่วนทหารไทยนั้นแค่เล่นการเมือง” เหตุใดบางประเทศ ซึ่งรวมถึงไทยกับพม่าจึงยังเผชิญกับภัยคุกคามจากการรัฐประหารและการปกครองโดยนายพลอีกในศตวรรษนี้
ตาดวงใหม่ของมนุษยชาติ
Reading Time: < 1 minuteSpace for Thai นิศาชล คำลือ ว่ากันว่าความงามไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเสมอไป เนื่องด้วยข้อจำกัดทางธรรมชาติที่อนุญาตให้มนุษย์มองเห็นวัตถุได้เพียงช่วงคลื่นที่ตามองเห็นเท่านั้น เมื่อดวงตาไม่อาจมองเห็น มนุษย์จึงจำเป็นจะต้องใช้สติปัญญาแทนดวงตาเพื่อมองให้เห็นถึงความงามที่ไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ในปี ค.ศ. 1990 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกที่ความสูงประมาณ 570 กิโลเมตร มันสามารถมองเห็นวัตถุได้ทั้งในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น ช่วงคลื่นแสงอินฟราเรด และช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลต ฮับเบิลประสบความสำเร็จอย่างมากในการเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศ ด้วยดวงตาของมันทำให้นักดาราศาสตร์สามารถศึกษาวัตถุและปรากฏการณ์ใหม่ ๆ ในอวกาศได้มากมาย สร้างผลกระทบเชิงบวกเป็นวงกว้างให้กับวงการดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และข้อมูลจากฮับเบิลยังถูกนำมาอ้างอิงในงานวิจัยของนักวิจัยอยู่เสมอ ๆ จนถึงนักวิจัยรุ่นปัจจุบัน จะเรียกว่าเป็นดวงตาของมนุษยชาติเลยก็ว่าได้ แต่คุณผู้อ่านสังเกตเห็นอะไรในความสมบูรณ์แบบนี้ไหม? หากนับตั้งแต่ปีที่ฮับเบิลถูกส่งขึ้นไปปฏิบัติหน้าที่จนถึงวันนี้ ณ ที่เขียน พบว่ากล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลมีอายุการทำงานมากว่า 32 ปีแล้ว แม้มันจะเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ถูกออกแบบมาให้สามารถส่งนักบินอวกาศไปทำการซ่อมแซมเมื่อชำรุดได้ แต่เราได้ส่งนักบินอวกาศออกไปซ่อมแซมมันอยู่เสมอมากถึง 5 ครั้งแล้ว และการส่งมนุษย์ออกไปทำงานกลางอวกาศแบบนั้น นับเป็นเรื่องที่มีความเสี่ยงสูง ยิ่งเราดึงดันจะซ่อมมันอยู่เรื่อย ๆ จะยิ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงให้กับนักบินอวกาศ หน่วยงานอวกาศอย่างนาซ่า องค์การอวกาศยุโรป และอีกหนึ่งพันธมิตรอย่างองค์การอวกาศแคนาดาจึงได้พยายามที่จะสร้างกล้องโทรทรรศน์อวกาศรุ่นใหม่ขึ้นมาเพื่อทดแทนการทำงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ทั้งนี้พวกเขายังตั้งเป้าให้กล้องโทรทรรศน์อวกาศรุ่นใหม่ที่ว่าสามารถล้วงลึกจักรวาลไปได้ไกลถึงจุดกำเนิดของทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อไขปริศนาในการมีอยู่ของเอกภพ และนั่นก็คือจุดกำเนิดของ “กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์” กล้องโทรทรรศน์อวกาศชนิดสะท้อนแสงทายาทรุ่นน้องที่อ้างอิงการสร้างมาจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เป็นเวลาเกือบสามทศวรรษในการวางแผนพัฒนาและปรับปรุง จนในที่สุด เจมส์ เวบบ์ […]
นิรโทษกรรมประชาชนของคน 3 รุ่น ‘ณัฐชนน-จตุพร-พิภพ’ ชำระประวัติศาสตร์ 20 ปีแห่งความขัดแย้ง
Reading Time: 2 minutesความขัดแย้งทางการเมืองไทยดำรงอยู่เกือบ 20 ปี หลังจากพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ขับไล่ “รัฐบาลทักษิณ” และเกิดการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 กระทั่งปัจุบันประเทศไทยอยู่ในวังวนความขัดแย้งไม่สิ้นสุด ข้อมูลจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน มีคนโดนคดีจากการออกมาเคลื่อนไหวในสองทศวรรษนี้แล้วกว่า 6,000 คน ตั้งแต่พ.ร.ก.ฉุกเฉิน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ร.บ.ความสะอาด ประกาศคำสั่งจากคณะยึดอำนาจ ความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 110 (ประทุษร้ายต่อพระราชินี) 112 และ116