
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Futurism
สนามอารมณ์ในหล่มปิตาฯ
Reading Time: 4 minutesผลงานของนักศึกษาฝึกงานดีโคตร ๆ รุ่น 1 เกศราภรณ์ สุวรรณ
ตั้งคำถามและหาคำตอบของทิศทางมวลอารมณ์ในหล่มปิตาไปกับ วัจนา เสริมสาธนสวัส อาจารย์พิเศษ โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เรียนรู้อารมณ์และประสบการณ์ส่วนตัวผ่านงานวิจัย “การยืนยันตัวตนจากประสบการณ์ ‘ความเป็นแม่’ ผ่านแนวคิดปรัชญาสตรีนิยมของ ลูซ อิริกาเรย์”
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
นกลายและบึงไฟ
Reading Time: 4 minutes“..คนเฒ่าเล่าว่า มันมีครั้งหนึ่ง ข้าวกับเงินเกิดเถียงกัน ว่าใครมีประโยชน์ต่อคนมากกว่ากัน” อยู่ ๆ หญิงสาวชาวกะเหรี่ยงก็เล่าเรื่องนี้ขึ้นมาในช่วงพลบค่ำ ตอนที่เรากำลังคุยเรื่องพันธุ์ข้าวไร่บนที่สูงเชิงเขา
“ต่างฝ่ายก็อ้างความสำคัญ ว่าถ้าไม่มีฉัน คนจะอยู่ไม่ได้ เถียงกันอยู่นาน จนข้าวเริ่มเบื่อหน่าย จึงหนีไปอยู่ก้น ‘บึงไฟ’ คนก็เลยไม่มีข้าวกิน เด็กน้อยร้องไห้เพราะไม่ได้กินข้าว ‘นกลาย’ (ทู๊กี) รู้เข้าก็สงสาร อาสาฝ่าบึงไฟลงไปจิกข้าวกลับคืนมาให้ นกลายบินเร็วมาก เล็ดรอดลงไปจิกเอาข้าวเหนียว 7 เมล็ด ข้าวเจ้า 7 เมล็ดใต้บึงไฟขึ้นมาให้คนได้สำเร็จ แต่ถึงอย่างนั้นขนโคนหางของมันก็ยังถูกไฟไหม้ คงเหลือแต่ปลายหางเท่านั้นที่ยังมีขนอยู่ ทีนี้คนก็เลยมีข้าวกินอีกครั้งหนึ่ง
แสงอาทิตย์สาดถึงเราอย่างเหลือเฟือและเท่าเทียม แต่ประชาธิปไตยทางพลังงานยังไม่เกิด
Reading Time: 3 minutesในวันที่รัฐไทยอยากลดค่าไฟแพงด้วยพลังงานสะอาด อะไรคือปัจจัยที่ทำให้ไทยยังไปไม่ถึงฝั่งฝันของการลดภาระค่าไฟประชาชน
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
GRID • LIST • PAGINATION
ระบบจัดการผู้ลี้ภัยล้มเหลว ใบปริญญาจึงเป็นแค่ปลายทาง
Reading Time: < 1 minuteเพราะประเทศไทยก็มีผู้ลี้ภัยมายาวนาน หลายคนก็อยู่ที่ไทยมานานกว่าหลายสิบปี ทำให้นโยบายเพียงแค่เฉพาะหน้าจึงไม่สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้เพียงพอ
The Welfare (2) ทิ้งไพ่ใบสุดท้าย เพื่อสวัสดิการประชาชน
Reading Time: 2 minutesรอบที่หนึ่งจบลง ความร่ำรวยและความยากจนถ่างจากกันยิ่งขึ้น ในรอบที่สองการซื้อประกันยังคงมีอยู่ แต่สิ่งที่เปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ คือ ‘สวัสดิการ’ นั้นได้ถูกเพิ่มเข้ามาแล้ว! ในรอบนี้ผู้เล่นมีทางเลือกที่จะลงขันบริจาคเงินเพื่อสร้างสวัสดิการในด้านต่าง ๆ โดยที่เมื่อสวัสดิการด้านใดมีเงินครบถ้วนตามที่กำหนด ผู้เล่น ‘ทุกคน’ ก็จะเสมือนได้รับประกันในด้านนั้น ๆ ไปเลย ไม่ว่าจะมีประกันอยู่แล้วหรือไม่และไม่ว่าจะลงเงินเท่าไหร่ก็ตาม ถ้านึกง่าย ๆ สวัสดิการก็คือการซื้อประกันที่ครอบคลุมทุกผู้เล่นไม่ใช่แค่คนที่จ่ายเงิน โดยต้นทุนนการซื้อสวัสดิการแต่ละด้านก็จะสูงกว่าการซื้อประกันอยู่แล้ว (เพราะครอบคลุมทุกคน) อย่างไรก็ดีถ้าหารเฉลี่ยต่อครัวเรือนค่าใช้จ่ายในการลงทุนในสวัสดิการก็จะถูกกว่าการซื้อประกันของแต่ละคน
The Welfare (1) เกมโต้กลับความเหลื่อมล้ำ
Reading Time: 2 minutesภายใต้สังคมที่เต็มไปด้วยความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ผู้เล่นที่มีจุดเริ่มต้นมาจากหลากระดับฐานะต่างพยายามแข่งขันกันหารายได้และสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้แก่ครอบครัวของตนเอง อย่างไรก็ดีเส้นทางชีวิตก็ใช่ว่าจะโรยด้วยกลีบกุหลาบ การต้องเผชิญกับความเสี่ยงที่ไม่คาดคิดก็อาจทำให้การหาเลี้ยงครอบครัวต้องหยุดชะงักลง สำหรับคนที่มีทุนทรัพย์เรื่องเล็กน้อยเหล่านี้ก็สามารถป้องกันได้ด้วยการซื้อประกัน คำถามคือ แล้วคนที่เหลือหล่ะ จะทำอย่างไรดี?
รัฐบาล(กระจก)เงาของคนไร้บ้าน
Reading Time: < 1 minuteเมื่อมาถึงวิกฤตโควิด ปัญหาที่รุนแรงอยู่แล้วก็ยิ่งทวีความรุนแรง จำนวนคนไร้บ้านเพิ่มขึ้นหลายเท่าอย่างเห็นได้ชัดตามถนนหนทาง จากคนจำนวนมากที่ต้องตกงาน หลายคนที่มีปัญหาครอบครัวรุมเร้าอยู่ก็มาถึงจุดแตกหักเมื่อต้องมากักตัวร่วมกันในที่แคบๆ หลายคนเข้ามาทำงานและอาศัยอยู่ในเมืองนานจนไม่เหลือความเชื่อมโยงใดๆ กับบ้านเกิด และไม่มีที่ทางที่อื่นที่จะไปนอกจากหาทางอยู่รอดต่อในเมืองต่อแม้ไม่มีงานทำ
Jurassic Park กำเนิดใหม่ไดโนเสาร์ และเราที่สูญพันธุ์
Reading Time: 3 minutesชวนอ่านนิยายคลาสสิคที่สะท้อนว่า เมื่อทุนนิยมและวิทยาศาสตร์กอดกันกลม ผสมความโอหังและทะนงตนของมนุษย์อีกสักกำ อำนาจเงินก็เสกทุกอย่างให้เกิดขึ้นได้ แม้กระทั่งการคืนชีพไดโนเสาร์จากโลกล้านปี
เรื่องจริงกระแสรองของคนข้ามเพศสูงวัย ไม่ใช่ทุกคนจะกลับบ้านได้ จนกลายเป็นคนไร้บ้านสูงวัยในที่สุด
Reading Time: 3 minutesฟังเสียงสะท้อนที่เราไม่ได้ยินกันบ่อยนักในการรณรงค์เรื่องสิทธิผู้มีความหลากหลายทางจากประสบการณ์ตรงของผู้มีความหลากหลายทางเพศที่มีอัตลักษณ์ทับซ้อนอย่างการเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ชนบท ของ พี่หล้า ธนิชา ธนะสาร อดีตผู้ใหญ่บ้านที่นิยามตัวเองว่าเป็นทอม และ พี่ขวัญ สุขวัญ กองดี สาวประเภทสอง จากมูลนิธิซิสเตอร์
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
รัฐนาวา สู่ รัฐอากาศยานสิ้นสุดลง เมื่อประตูอากาศยานนั้นเปิดออก
Reading Time: 4 minutesส่วนหนึ่งของใจความสำคัญจากปาฐกถาของ ศ.ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เรื่อง “รัฐอากาศยาน” ในงานดิเรก ทอล์ค เนื่องในโอกาสครบรอบ 70 ปี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2562 ในช่วงเวลาที่สังคมไทยอยู่ภายใต้รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยหลังการเลือกตั้ง 2562 พรรคพลังประชารัฐได้โอกาสจัดตั้งรัฐบาลและเทียบเชิญผู้นำการรัฐประหารขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกสมัย
“เพราะมหาลัยไม่ใช่ของผู้บริหาร” เรียน(ออนไลน์)ต่อต้องมองไกล จินตนาการไม่ได้สำคัญไปกว่าความจริง
Reading Time: 3 minutes“การศึกษาคือตัวเลขที่ประเมินมูลค่าไม่ได้” Decode ได้พูดคุยกับนักศึกษาจาก 2 สาขาวิชาชีพและหนึ่งอาจารย์มหาวิทยาลัยเพื่อร่วมกันถอดรหัสการเรียนการสอนแบบออนไลน์ว่าแนวทางนี้มีประสิทธิภาพมากเพียงใดในยุคชีวิตวิถีใหม่
สนพ.เล็ก แต่ ‘Passion ใหญ่’ บทสนทนานิยายยูริกับ lily house.
Reading Time: 2 minutesจริงๆ แล้วนิยายวายไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในขอบเขตชายรักชายเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงนิยายประเภทหญิงรักหญิงหรือที่เรียกว่ายูริ (Yuri) ด้วยเช่นกัน
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ความสัมพันธ์ที่สมบูรณ์แบบ ในรัฐที่ไม่สมบูรณ์แบบ
Reading Time: 3 minutesทำไมต้องให้ใครมาดูแล ในเมื่อรัฐต้องสามารถดูแลเราได้พร้อม
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
มนต์รักทรานซิสเตอร์ ที่เธอ เขา เรายังร้องไห้ให้กับความเหลื่อมล้ำของประเทศนี้
Reading Time: < 1 minuteบทละครชวนเศร้า ไม่ใช่เพราะว่า มนต์รักทรานซิสเตอร์เป็นวรรณกรรมที่งดงามหรือสูงส่ง แต่เพียงแค่ว่าความเหลื่อมล้ำ ความเศร้าที่เกิดขึ้น ที่เราเห็นในละครเวที ในบทประพันธ์ มันแทบเหมือนกับสิ่งที่เกิดเมื่อวานนี้ ความเหลื่อมล้ำที่เกาะกินในสังคมไทยมันแทบไม่เปลี่ยนแปลงเลย บางช่วงจังหวะของบทละครพาผมเสียน้ำตาเมื่อผมเทียบกับปรากฏการณ์หลายอย่างที่เกิดขึ้นในสังคมไทยในช่วงเวลาที่ผ่านมา
ปีศาจยามวิกาล
Reading Time: 2 minutes‘ปีศาจยามวิกาล’ เป็นหนังสือ ที่คงจะบอกได้ว่าคุณภาพ ไม่ได้ดี แต่ก็ไม่ได้แย่ โดย ‘ปีศาจยามวิกาล’ คือ นวนิยายเรื่องที่สามจากปลายปากกาของซุมิโนะ โยรุผู้เขียน ‘ตับอ่อนเธอนั้น ขอฉันเถอะนะ’ และ ‘ฝันถึงเรื่องนั้นอีกแล้ว’ แม้ตัวเนื้องานของปีศาจยามวิกาลจะด้อยกว่าสองงานแรกเกือบทุกด้าน แต่ยังนับว่าเป็นหนังสือที่มีคุณภาพ โดยถึงจะมีเนื้อหาที่หนัก แต่ยังอยู่ในขอบเขตที่เรียกได้ว่าอ่านง่าย
สู่ความเวิ้งว้างอันไกลโพ้น เรื่องราววิทยาศาสตร์ในประเทศที่การประกาศทะยานสู่ดวงจันทร์นั้นน่าชวนหัว
Reading Time: 2 minutesวิทยาศาสตร์ไทยจะดีได้ ไม่ใช่แค่การปฏิรูปภายในวงการเท่านั้น แต่การปฏิรูปการเมืองตามวิถีประชาธิปไตยก็เป็นเรื่องที่ต้องทำควบคู่ไปด้วยกัน
‘สื่อ’ ในสนามเลือกตั้ง
Reading Time: < 1 minuteเวลาเช่นนี้จึงทำให้เราเห็นได้ถึงความสำคัญของสื่อในฐานะที่เป็นเวทีถกเถียงกันของสังคม ในฐานะที่เป็นผู้บริหารจัดการเวทีและพื้นที่ให้กับการถกเถียงเพื่อให้ผู้เสพสื่อได้ข้อมูลจากหลายฝ่ายอย่างรอบด้าน ในเรื่องนี้เราจึงเห็นความแตกต่างอย่างชัดเจนของเวทีดีเบทที่นักการเมืองหลายฝ่ายเข้าร่วมกับเวทีปราศรัยหาเสียงของแต่ละพรรคการเมือง ในขณะที่การจัดการเวทีดีเบทต้องอาศัยความสามารถของผู้จัดอย่างมากในการแจกลูกโยนคำถามและคุมเกม เวทีปราศรัยเป็นเวทีพูดฝ่ายเดียวที่ไม่มีการท้าทาย