
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
News
ช่องว่างแห่งหลักการ เมื่อความเสมอภาคทางเพศไม่เท่ากับการเป็นเฟมินิสต์
Reading Time: 2 minutesเมื่อความเสมอภาคทางเพศไม่ได้ทำให้คนอยากเป็นเฟมินิสต์ และคุณค่าความเป็นชายยังคงแข็งแกร่ง แล้วงานวิจัยสตรีนิยมในไทยจะมีท่าทีอย่างไร
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
อัพเดทขนส่งสาธารณะไทย พร้อมไหม พอหรือยังสำหรับให้ทุก ๆ คนได้เดินทาง
Reading Time: 4 minutesDe/code ชวนสำรวจ และอัพเดทการขนส่งสาธารณะเมืองกรุงว่ามีไว้ให้ทุกๆ คนได้ใช้มากแค่ไหน ตั้งแต่รถเมล์ รถไฟฟ้า แท็กซี่ และทางเท้า
สหายขัปปะ ตัวละครเดิมในความหมายใหม่
Reading Time: 2 minutesเจ้าอยากเกิดมาบนโลกใบนี้หรือไม่ จงคิดให้ดีแล้วตอบมา คำถามแรกเกิดที่พ่อขัปปะ ป้องปากถามลูกในท้องผ่านช่องคลอดภรรยา เพื่อถามความสมัครใจของการถือกำเนิดขึ้นบนโลก หากขัปปะน้อยปฎิเสธการเกิด หมอตำแยจะเอาแท่งแก้วเป่าสารเคมีเข้าท้องแล้ว แฟ่บ เด็กหายไป
เปิดกระเป๋านักสำรวจ(ก่อน)เดินทางข้ามปี
Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 28 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus
GRID • LIST • PAGINATION
ชิ้นส่วนของดวงดาวแตกสลายแต่ไม่กลายเป็นอื่น
Reading Time: < 1 minuteวัยเยาว์จ้องมองฉัน ก้าวต่อก้าว อดีตและอนาคตบรรจบกันที่ปัจจุบัน ความเปลี่ยนแปลงอาจเขย่าท้องฟ้า ชิ้นส่วนของดาวบางดวงร่วงลง แตกสลายแต่ไม่กลายเป็นอื่น
Reading Time: < 1 minuteทีม decode.plus เปิดรับสมัครเพื่อนร่วมงานใหม่ ตำแหน่ง Graphic Designer 1 คน วันนี้-28 พ.ย.2566
‘ไม่มีลูก’ ไม่ได้แย่เสมอไปในสังคมสูงวัย
Reading Time: < 1 minuteในแง่ปัจเจกชน “การไม่มีลูก” จึงไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตายมาหลายทศวรรษแล้วแต่ในแง่ของ “สังคม” มันเป็นเรื่องคอขาดบาดตายหรือไม่กับการที่คนเกิดน้อยและคนแก่มาก จนถึงขั้นต้องกระตุ้นให้คนมีลูกขึ้นมาทดแทน
Stalking เพราะความเกลียดชัง กฎหมายครอบจักรวาล
Reading Time: 3 minutesแม้ว่าการ Stalking มักจะเกิดในกรณีการคุกคามทางเพศ เช่น กรณีแอบชอบอย่างเคสของน้องมินตัน เน็ตไอดอลชื่อดัง หรือในกรณีของอดีตคนรักที่เลิกรากันไปแล้วมีการสะกดรอยติดตาม เพราะแค้นหรืออยากทำร้ายร่างกาย หรือคนที่ถูกบอกเลิก อาจมีการ Stalking เพราะอยากกลับเข้ามาในความสัมพันธ์ นอกจากนี้ในอีกกรณีหนึ่งคือ Stalking เพราะความเกลียด เช่น ความเห็นทางการเมืองไม่ตรงกัน ดังนั้นเหยื่อจึงไม่ได้ถูกจำกัดที่เพศหญิงอย่างเดียว ทุกเพศมีสิทธิถูก Stalking ได้เหมือนกันหมด
Welcome to Consent เพราะคำว่า ‘ไม่’ ก็สวยงามไม่แพ้กัน
Reading Time: 3 minutesทำความรู้จักกับร้อยวิธีตอบตกลง พันวิธีบอกปฏิเสธ ด้วยฐานของเพื่อนเก่าที่เราไม่ค่อยพูดถึงอย่างตรงไปตรงมาอย่าง ‘ความยินยอม’
ขอแค่ความหวัง นาขาวังรุ่นสุดท้าย
Reading Time: 3 minutesพื้นที่ความสมบูรณ์แห่งนี้ กำลังตกอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้งมลภาวะทางน้ำ อากาศ ฝุ่น ควัน จากการก่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรมหลากหลาย แบบหลีกเลี่ยงไม่ได้
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
หมดเวลาฮันนีมูน ‘ทุนนิยม’ บนเรือสำราญ เมื่อความขัดแย้งเดินมาถึง…ปลายทาง
Reading Time: < 1 minute‘มูลค่า’ มองไม่เห็น จับต้องไม่ได้ ‘เงิน’ เป็นมาตรวัดเพียงหนึ่งเดียว ที่ใช้วัดมูลค่าทางเศรษฐกิจของสินค้าและบริการทุกอย่างในตลาด รวมทั้งเป็นวิธีเก็บรักษามูลค่า ‘มูลค่า’ จึงแปรเปลี่ยนให้มีตัวแทนเป็น ‘เงิน’ และเงินถูกขยายบทบาทมากในปัจจุบัน ดูเหมือนว่าความต้องการเงินอย่างไม่มีที่สิ้นสุด คือพลังทำให้โลกเศรษฐกิจหมุนไปข้างหน้า ?
การกลับบ้านของหัวหน้าฮง และตะกร้าพักใจที่ทุนนิยมมอบให้
Reading Time: 3 minutesหัวหน้าฮงเหมือนคนไทยหลายคนที่รู้สึกเจ็บปวด ซึมเศร้า ติดกับดักของระบบที่ขูดรีดโหดร้าย และหลายคนไม่สามารถเลือกใช้ชีวิตสงบสุขแบบพระเอกในเรื่องได้
ไม่แตะทุนใหญ่ตัวการ PM 2.5 ‘เราก็ไม่รอดกันหมด’
Reading Time: 3 minutesรัฐเห็นอะไรสำคัญและเร่งด่วนไปกว่าชีวิตของคนในประเทศ?แก้ปัญหา PM 2.5 ที่ปลายเหตุไม่เคยได้ผล ทำไมไม่แก้ที่ต้นตอ? ไม่อยากตายผ่อนส่งเพราะมลพิษทางอากาศ เราทำอะไรได้บ้างในฐานะพลเมือง?
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ปีนี้ไม่มีเงียบ! ระบอบประยุทธ์ฯ และการกลับมาของสตรองแมน ยินดีต้อนรับสู่…เฟสสอง
Reading Time: 2 minutesกรุณา…ปรับโหมด เพราะการเมืองไทยปีนี้จะไม่เงียบ ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อในระยะเปลี่ยนผ่านประเทศไปสู่ประชาธิปไตยโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ทั้งเป็นปีแรกที่ Decode ตั้งต้นถอดโจทย์อนาคตไปสู่สิ่งที่ดีกว่า คู่ขนานกับอาฟเตอร์ช็อกการเมืองไทยในเฟสใหม่ หลังเหตุแผ่นดินไหวการเมืองไทยในช่วงรัฐประหารปี 2557 ปิดฉากความขัดแย้งของขบวนการสีเสื้อที่ลากยาวมากว่า 10 ปี สิ้นสุดลง
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ถอดโมเดล “กลุ่มคนดูแลกันเอง” ช่วยคนตรงหน้า ด่ารัฐบาล เรียกร้องรัฐสวัสดิการ
Reading Time: 2 minutesหากเราไม่ “วิจารณ์รัฐบาล” มันคือการเมินเฉยต่อเรื่องนี้อย่างน่าละอาย คำถามสำคัญคือ เราสามารถช่วยชีวิตผู้คน สนับสนุนด่านหน้า เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง เรียกร้องรัฐสวัสดิการ พร้อมด่ารัฐบาล ไปพร้อมกันได้หรือไม่ วันนี้ผมจะพาถอดรหัส “กลุ่มคนดูแลกันเอง” ซึ่งสามารถทำทุกอย่างข้างต้นได้ในพร้อมกัน
สันติภาพชายแดนใต้เดินมาได้ไม่ไกลพอ
Reading Time: 2 minutesจากการยุติการพูดคุยอย่างเป็นทางการหลังรัฐประหารในปี 2557 เวทีพูดคุยเจรจาก็เกิดขึ้นอีกครั้งในปี 2562 หลังจากได้รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งครั้งนี้ ได้พล.อ.วัลลภ รักเสนาะ อดีตเลขาธิการ สมช.เป็นหัวหน้าคณะพูดคุยของ Party A จวบจนถึงปัจจุบัน แม้เมื่อพิจารณาจากรายละเอียดแล้ว ยังไม่มีความคืบหน้าอย่างเป็นรูปธรรม แต่ก็เห็นความพยายามของทั้งสองฝ่ายในการลดท่าทีที่แข็งกร้าวลง เพื่อรักษาเวทีและบรรยากาศของการพูดคุยเพื่อหาทางออกให้ได้
ดงมะไฟ อาหารของเรา แผ่นดินของเรา
Reading Time: 4 minutesเทศกาลอาหารบ้านป่าดงมะไฟ เทศกาลหลังการปิดเหมืองสำเร็จที่หมู่บ้านผาฮวกพัฒนาชาวประชาสามัคคี เทศกาลที่รื้อฟื้นการต่อสู้เพื่อความมั่นคงต่อสิ่งแวดล้อมและข้าวปลาอาหารของชาวบ้านดงมะไฟ
เพราะรัฐบกพร่อง ประชาชนจึงต้องตื่นรู้
Reading Time: 3 minutes“วัคซีนที่ดีที่สุดตอนนี้ ก็คือวัคซีนที่คุณได้รับการเสนอให้ฉีดนั่นแหละ” จวบจนวันนี้ เรายังวนเวียนอยู่กับคำถามเกี่ยวกับการฉีดวัคซีน ประสิทธิภาพของวัคซีน การนำเข้าจากภาคเอกชน การกลายพันธุ์ของไวรัส และมาตรการในการหลุดออกจากวงโคจรนี้