
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Crack Politics
ค้อนเคียวรุ่นสู่รุ่น ปีศาจคอมมิวนิสต์ยังไม่หายไปไหน
Reading Time: 4 minutesชื่อว่า “คอมมิวนิสต์” คงไม่พ้นจากการถูกมองว่าเป็น “ปีศาจ” เสมอมา โดยเฉพาะในสายตาของชนชั้นนำและนายทุน
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
“ไม่จำเป็นต้องสร้างบรรยากาศความกลัว” อาจารย์-นศ.แสดงจุดยืนเคียงข้างผู้ถูกตั้งข้อหา ม.112 เพราะปราศรัยเรียกร้องรัฐสวัสดิการ
Reading Time: 2 minutesอาจารย์และนักศึกษาจากศูนย์วิจัยรัฐสวัสดิการ วิทยาลัยสหวิทยาการ ม.ธรรมศาสตร์ และนักศึกษากลุ่ม TUMS Thammasat University Marxism Studies ถือป้ายและมอบดอกไม้ให้กับผู้ถูกตั้งข้อหา ม.112, ม.116, ม.215 และ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน จากกิจกรรมการปราศรัยและชุมนุมที่แยกเกียกกาย เมื่อวันที่ 24 ก.ย.2563
The Welfare (1) เกมโต้กลับความเหลื่อมล้ำ
Reading Time: 2 minutesภายใต้สังคมที่เต็มไปด้วยความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ผู้เล่นที่มีจุดเริ่มต้นมาจากหลากระดับฐานะต่างพยายามแข่งขันกันหารายได้และสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้แก่ครอบครัวของตนเอง อย่างไรก็ดีเส้นทางชีวิตก็ใช่ว่าจะโรยด้วยกลีบกุหลาบ การต้องเผชิญกับความเสี่ยงที่ไม่คาดคิดก็อาจทำให้การหาเลี้ยงครอบครัวต้องหยุดชะงักลง สำหรับคนที่มีทุนทรัพย์เรื่องเล็กน้อยเหล่านี้ก็สามารถป้องกันได้ด้วยการซื้อประกัน คำถามคือ แล้วคนที่เหลือหล่ะ จะทำอย่างไรดี?
ลบไม่ได้ช่วยให้ลืม ‘คนตัวเล็ก’ ในประวัติศาสตร์กระแสรอง
Reading Time: 3 minutesชวนอ่านเรื่องราวนิทรรศการของคนตัวเล็กๆ ของประวัติศาสตร์กระแสรอง เรื่องราวที่ไม่ได้อยู่ในแบบเรียน ใน The battle wound และกล่องฟ้าสาง
GRID • LIST • PAGINATION
หรือชุมชนอุดมคติไม่มีอยู่จริง
Reading Time: 3 minutesคำตอบที่ไม่เห็นว่า “ชุมชน” จะมีความสลักสำคัญสำหรับชีวิตพวกเขา ทำให้ผมคิดว่าจำเป็นต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับ “ชุมชน” ในบริบทสังคมร่วมสมัยว่า ชุมชน สูญสลายเป็นแค่อดีตให้พูดถึง หรือชุมชนยังมีความจำเป็นในยุคนี้อยู่ และหน้าตาของชุมชนเปลี่ยนไปอย่างไร
มหาอุทกภัยในเครื่องหมายคำถาม
Reading Time: 2 minutesทุกวันนี้เราได้ข่าวน้ำท่วมแทบจะทุกวันจากแทบทุกมุมโลก เฉพาะช่วงอาทิตย์ที่ผ่านมาเกิดน้ำท่วมใหญ่ที่รัฐฟลอริดา ฮ่องกง สเปน และกรีซ หรือแม้แต่พื้นที่กลางทะเลทรายอย่างลาสเวกัส เหตุผลสำคัญคือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้เกิดฝนตกหนักรุนแรงในระยะเวลาสั้น ๆ ส่งผลให้มีโอกาสน้ำท่วมได้มากขึ้น ความรุนแรงจากน้ำท่วมมีหลายระดับ ตั้งแต่ทำลายทรัพย์สิน บ้านเรือน ทำให้การคมนาคมและเศรษฐกิจหยุดชะงัก ไปจนถึงทำลายที่อยู่อาศัย พื้นที่ทำกิน วิถีชีวิต และอาจนำมาซึ่งการบาดเจ็บล้มตายของผู้คนจำนวนมาก
ครรภ์แห่งชาติ หญิงสาวใต้บงการของรัฐไทย
Reading Time: 2 minutes“ครรภ์” และ “ชาติ” แม้จะห่างแต่กลับแยกกันอย่างไม่ขาด เพราะครรภ์เป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ ทว่าสังเวยด้วยร่างกายและครรภ์แห่งชีวิตของหญิงสาว
ล้นป่า ล้ำชุมชน วิกฤตช้าง(นอก)ป่า
Reading Time: 3 minutesคนกับช้างอยู่ร่วมกันได้จริงหรือไม่? ถอดรหัสหลากมุมมองจาก SPECIAL FORUM: อยู่ร่วมหรือขัดแย้ง? คนกับช้าง ณ ป่าตะวันออก (A Fragile Coexistence – Humans and Elephants in Eastern Thailand) เมื่อ ช้าง สัตว์ประจำชาติของไทยกำลังตกอยู่ในบัญชีสัตว์ใกล้สูญพันธุ์
นักวิทยาศาสตร์หญิงอินเดีย ผู้อยู่เบื้องหลัง ‘จันทรยาน-3’ ทะยานสู่ดวงจันทร์
Reading Time: 3 minutesองค์กรวิจัยอวกาศของอินเดีย หรือ India Space Research Organization, ISRO (อ่านว่า อิสโร) เป็นองค์กรที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของจันทรยาน-3 นั้น ใช่ว่าจะมีเพียงนักวิทยาศาสตร์เพศชายเท่านั้น บทความนี้ใคร่กล่าวถึงนักวิทยาศาสตร์หญิงแห่งอิสโรเพียง 7 คน เพื่อยกเป็นตัวอย่าง
รัฐลัก ‘รัก’ สาวลำปาง บ่าวปากพนัง
Reading Time: 5 minutesชีวิตบั้นปลายของ ’ปราณี ด่านวัฒนานุสรณ์’ 5 ปีที่ยังตามหาสามี ‘สุรชัย แซ่ด่าน’
ชีวิตที่ไม่ต่างจากปุถุชนคนอื่น คู่รักที่ใช้เวลาว่างไปกับการดูหนัง ชอบทานแกงใต้ และอยากอยู่ด้วยกันไปจนวันสุดท้าย แต่รัฐกลับมองพวกเขาเป็นเพียงปีศาจ
ชีวิตจริงที่ต้องไปต่อของครอบครัวผู้ถูกอุ้มหาย ที่รัฐเผด็จการไม่เข้าใจว่าการรอมันเจ็บปวดเพียงใด
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ศาลปกครองรับคำฟ้องครอบครัว “อัพ VGB” เมื่อความล่าช้าจากรัฐคือความตายของผู้คน
Reading Time: 4 minutesภายใต้ พรก.ฉุกเฉิน ก็ไม่อาจอยู่เหนือสิทธิของประชาชน
สนทนาสามจังหวัดชายแดนใต้
Reading Time: 2 minutesพวกเขาล้วนมองเป็นเรื่องไกลตัว ในแง่นี้นั้น เท่ากับว่ามอบหมายอำนาจในการจัดการให้กับกลไกรัฐอย่างสิ้นเชิง
10 ปี อาหรับสปริง: คลื่นประชาธิปไตยหรือเผด็จการย้อนรอย
Reading Time: 2 minutes1 ทศวรรษของคลื่นเหตุการณ์ทางการเมือง “อาหรับสปริง” ดูจะมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้น ที่เรียกได้ว่าเปลี่ยนผ่านอย่างค่อนข้างราบรื่น
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
แพลตฟอร์มทำ “นิวโลว์” ถึงจุดต่ำสุดของคนทำงานแพลตฟอร์ม สวนทางกับความรับผิดชอบของบริษัทยักษ์ใหญ่
Reading Time: 2 minutesโควิด-19 กำลังทำให้สภาพ “นิวโลว์” ต่ำลงได้อีก เมื่อความเสี่ยงของคนทำงานสวนทางกับความรับผิดชอบของบริษัทแพลตฟอร์ม
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
การหายไปของ ‘หะยีสุหลง’ การผูกขาดพื้นที่ความทรงจำ
Reading Time: 2 minutesเรื่องราวของหะยีสุหลงไม่ได้เป็นแต่เพียงเรื่องของคนที่ถูกบังคับให้สูญหาย แต่ยังมีเรื่องใหญ่ด้วยคือข้อเรียกร้อง 7 ประการของเขา ซึ่งก็พูดได้เช่นกันว่าจนถึงวันนี้ก็ยังพูดกันได้แบบไม่ “ทะลุ”
สิทธิที่ไม่ได้ใช้ของ “เด็กพลัดถิ่น” ในศึกเลือกตั้งอบจ.
Reading Time: 3 minutesฟังเสียง “เด็กพลัดถิ่น” หรือผู้ที่เข้ามาหาโอกาสในเมืองหลวง ว่าสิทธิบนพื้นที่ใดที่พวกเขาควรถือครองเพื่อกำหนดชะตาชีวิต ระหว่างสิทธิตามถิ่นฐานบ้านเกิด หรือสิทธิตามพื้นที่อาศัย ผ่านการเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งนี้ และร่วมออกแบบกาเลือกตั้งในอนาคต ว่าทำอย่างไรถึงจะไม่ทอดทิ้งเด็กไกลบ้าน
เมื่อโลกซึมเศร้า เราต้องหยุดลงโทษตัวเองได้แล้ว
Reading Time: 2 minutesมากกว่าระบบทุนนิยมที่จะดีกว่าสำหรับสังคม ที่ไม่ทำให้โลกทั้งใบของพวกเราเป็นโลกซึมเศร้า
ถอดรหัส “คลับเฮาส์ iOS” ชุมชนสนทนาใหม่ในเศรษฐกิจแบบแพสชั่น
Reading Time: 2 minutesร่วมหาคำตอบในบทความนี้ ว่าอะไรทำให้แพลตฟอร์มที่ทำหน้าที่คล้าย ‘พ็อดแคสต์’ และ ‘โทรศัพท์’ แบบประชุมรวมสายได้รับความนิยมอย่างมากในเวลาสั้นๆ ปรากฏการณ์แห่สมัครคลับเฮาส์บอกอะไรกับเรา การตลาดของแพลตฟอร์มน้องใหม่นี้กำลังสะท้อนให้เห็นอะไรบ้าง ทำไมผู้คนไม่น้อยจึงยอมเสียเงินหลักร้อยไปจนถึงพันเพื่อซื้อคำเชิญเข้าร่วม (invitation) ที่มีคนแอบเอามาขายต่อทางอินเทอร์เน็ต หรือรอคอยอย่างใจจดจ่อให้ถึงคิวที่เหล่า ‘ประชากรแอนดรอยด์’ จะได้เข้าไปฟังบ้าง