seeddemo - Decode

SLIDER • HEADLINE

GRID • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Play Read

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Human & Society

เล่าเรื่องเรา-รับฟังเรื่องเขา: Human Library ห้องสมุดมีชีวิตที่อาจเป็นพื้นที่เยียวยาหัวใจกันและกัน

Reading Time: 3 minutes“ผ่านเรื่องนั้นมาได้อย่างไร?” “แม้ว่าทุกชีวิตจะผ่านความยากมาเหมือนๆ กัน แต่เราก็ยังอยากเรียนรู้ว่า เขาผ่านจุดนั้นมาได้อย่างไร นี่คือการเห็นความเชื่อมโยงของความเป็นมนุษย์ซึ่งกันและกันนะ” มันเป็นคำถามที่นักอ่านถามคนตรงหน้าในฐานะ “หนังสือมีชีวิต” ระหว่างกิจกรรม Human Library หรือห้องสมุดมนุษย์ ของโครงการธนาคารจิตอาสา และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ (สสส.) 

GRID • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Columnist

พื้นที่สาธารณะของบางกอก

Reading Time: < 1 minuteประเทศเต็มไปด้วยคำตอบอันปราศจากคำถาม วีรพร นิติประภา เมืองคือที่ผู้คนอยู่อาศัยร่วมกัน  หัวใจของเมืองจึงอยู่ที่พื้นที่สาธารณะหรือพื้นที่ที่ไม่ใช่ของใครคนใดแต่เป็นของทุกคน  ไม่ใช่บ้านเรือนส่วนตัวของใครของมัน สำหรับคนชั้นกลางในกรุงเทพฯ ที่มีรายได้มากพอจะมีที่อยู่อาศัยกว้างขวางสักหน่อย …ไม่ต้องใหญ่ มีเงินเหลือพอท่องเที่ยวใกล้ไกลบ้าง …ไม่ต้องบ่อย หรือมีรายได้มากพอจะขับรถยนต์ส่วนตัวขับไปกินอาหารตามร้านชานเมืองหรือริมน้ำ …บางครั้ง พื้นที่สาธารณะอาจไม่มีความสำคัญมากนัก แต่คนจำนวนมากของกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นหนึ่งเมืองประชากรมากที่สุดในโลก นอกจากจะใช้ชีวิตประจำวันในพื้นที่จอแจพลุกพล่าน เดินทางโดยรถโดยสารยัดเยียดแออัด มีความสามารถเช่าพักที่อาศัยได้แค่ห้องเล็ก ๆ คับแคบ และหลายคน…ห้องที่ว่ายังใช้อาศัยร่วมกันทั้งครอบครัวจนล้น มิหนำซ้ำยังซ่อนอยู่ในกลางชุมชนแออัดทั้งแนวตั้งและแนวนอน …พวกเขาไม่มีรายได้มากพอจะเดินทางออกไปสูดอากาศหรือหย่อนใจที่ไหน พื้นที่สาธารณะที่มีไม่มากนักเมื่อเทียบกับอัตราประชากรจึงเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในสิ่งจำเป็นขั้นพื้นฐานด้วยซ้ำ มันสำคัญยิ่งยวดต่อสุขภาวะทางกายและใจ และเป็นสิ่งเหลือหล่อเลี้ยงยืนยันความเป็นมนุษย์ก็ว่าได้ ไม่ใช่แค่ที่ให้หย่อนใจซึ่งฟังดูหรูหราและไม่มีความจำเป็น พื้นที่สาธารณะในเมืองส่วนใหญ่คือทางเท้า ซึ่งก็แคบ ๆ  เป็นคอนกรีตเปลือยร้อน ๆ ใกล้ย่านชุมชนก็จะทั้งพลุกพล่านและสกปรก ไม่มีที่ให้นั่งพักเวลาเมื่อยด้วยซ้ำอย่าว่าแต่หย่อนใจ แถมยังทอดขนาบไปกับถนนจอแจที่รถติดขนัดเกือบทุกเส้น และเต็มไปด้วยควันไอเสีย พื้นที่ว่างอย่างลานคอนกรีตหรือสนามหญ้าตามหน้าอาคารก็ไม่ใช่พื้นที่สาธารณะ แต่เป็นสิทธิ์ของทั้งเอกชนและราชการ ซึ่งก็ปล่อยว่างไว้เพียงเพื่อให้สถานที่ดูร่มรื่นสวย กับสงวนไว้ใช้จัดกิจกรรมส่วนตัวเท่านั้น และมีรักษาความปลอดภัยคอยตรวจตราดูแลไม่ให้คนเข้าไปนั่งเล่นหย่อนใจ พื้นที่สาธารณะจริง ๆ จึงเหลือแค่สวนสาธารณะ ที่มีพื้นที่โล่งกว้างกับต้นไม้ใหญ่หน่อยก็มีสวนลุมพินี สวนเบญจกิตติ สวนรถไฟ สวนสราญรมย์ สวนรมณีนาถ สวนปทุมวนานุรักษ์ที่เพิ่งเปิดใหม่ กับที่น่าตื่นใจและเป็นความหวังของชาวกรุงคืออุทยานเฉลิมพระเกียรติที่ยังไม่เสร็จเปิดที่สนามม้านางเลิ้งเดิม ซึ่งสวนเหล่านี้จะว่าเข้าถึงได้ง่ายก็ง่ายเพราะอยู่ใจกลางเมือง จะว่ายากก็ยากเพราะล้อมรอบด้วยรถติดหนัก และจะว่าไปยังขาดแคลนอากาศหายใจ ส่วนสวนหลวงร.เก้า พุทธมณฑล สวนพฤกษชาติคลองจั่น สวนศรีนครเขื่อนขันธ์บางกระเจ้า ที่ร่มรื่นกว่ามากและอากาศดีก็ห่างไกล กับจะสะดวกต่อการไปมาก็ต่อเมื่อมีพาหนะส่วนตัว พื้นที่ริมน้ำนอกจากสวนสันติไชยปราการซึ่งไม่ใหญ่นักก็นึกไม่ออกว่ามีที่ไหนอีก สวนที่เหลือก็เป็นแค่ส่วนหย่อมเล็ก ๆ และไม่มีต้นไม้ใหญ่ทั่วไปตรงนั้นตรงนี้ โดยรวมการดูแลบำรุงรักษาสวนสาธารณะของ กทม.ยังต้องขอบอกว่าไม่ดีเท่าไหร่นัก  ต้นไม้แคระแกร็น ไม่ใคร่สมบูรณ์ สนามกีฬาใหญ่มีที่ปทุมวัน หัวหมาก และไทย-ญี่ปุ่นดินแดง ทั้งสามแห่งมีพื้นที่ว่างโดยรอบที่ให้เข้าไปใช้สอยหย่อนใจได้พอควร แต่ก็ยังน้อยแห่งเกินไป นอกจากนั้นก็มีวัดวาต่าง ๆ ที่มีที่นั่งและพื้นที่ให้ญาติโยมเข้าไปใช้ได้ แต่ความที่เป็นสถานศักดิ์สิทธิ์รวมทั้งยังเป็นสถานฌาปนกิจตั้งสวด ก็อาจทำให้ไม่ค่อยได้รับความนิยมเท่าที่ควร นอกจากนั้นก็มีห้องสมุดสาธารณะ ซึ่งก็มีหลายแห่งมาก ๆ แต่เท่าที่เคยผ่านไปไม่กี่แห่งก็ต้องยอมรับว่าไม่น่าประทับใจนัก ขนาดเล็กจ้อย หนังสือก็มีไม่กี่เล่ม ไม่น่าสนใจและเก่า หนังสือวิชาการ ความรู้ และวรรณกรรมน้อยมากทั้งที่ห้องสมุดสาธารณะคือสถานพัฒนา เพิ่มพูนความรู้ และเกื้อกูลชดเชยให้กับคนด้อยโอกาสทางการศึกษา เห็นได้ชัดว่าได้รับทุนอุดหนุนน้อย และไม่มีเจตจำนงแข็งแรงในการบริหารจัดการ มองจริงจังจะพบว่าเรามีพื้นที่สาธารณะในเมืองไม่น้อยโดยเฉพาะพื้นที่กลางแจ้ง แต่ผู้คนกลับใช้สอยไม่มากเท่าที่ควร ด้วยเหตุไม่กี่เหตุ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งก่อสร้างใหญ่จำนวนมากที่ทำให้ตัวเมืองเก็บความร้อน ปัญหาจราจรที่ไม่เคยแก้ไขได้จริงจัง ซึ่งทำให้พื้นที่สาธารณะกลายเป็นพื้นที่เปิดสำหรับมลภาวะอย่างหนักทั้งเสียงและอากาศ  รวมทั้งใช้เวลานานกว่าจะไปถึง กับขนส่งมวลชนไม่ทั่วถึงที่ทำให้การเข้าถึงพื้นที่สาธารณะเป็นไปได้ยากลำบากเกินไป เป็นเรื่องน่าตกใจไม่น้อยที่เมื่อมองลงไปจะพบว่าคุณภาพเมือง คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ สุขภาพทางกายและใจ ของคนนับสิบล้าน ตามทะเบียนราษฎร์และอาจมีจำนวนอยู่จริงมากกว่านั้นถึงเท่าตัวของเมืองขนาดเมกก้า  ตกต่ำและผุกร่อนจากปัญหาแค่ผังเมืองที่ยังคงขยายตัวไร้ระเบียบ การบริหารจัดการการจราจรและขนส่งมวลชน …ซึ่งไม่มีปัญหาใด ๆ ในโลกที่หากแก้ไขจริงจังจะแก้ไขไม่ได้

วีรพร นิติประภา
Human & Society,Crack Politics,Inequality,Interviews,Story

Baphoboy ศิลปะของการยิ้มรับกับอำนาจมืด

Reading Time: 4 minutesDe/code คุยกับเจ้าของผลงานภาพวาดแนว Pop Art ที่เรียกตัวเองว่า Baphoboy หรือ เคน-สิปปกร เขียวสันเทียะอ เขามีจุดเริ่มต้นมาจากคำถามในห้องเรียนที่อยากระบายความหดหู่กับเรื่องราว “ตาสว่าง” ของตัวเอง

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​
Young Spirit,Human & Society

Live and Let Die ในความหมายของลิซ่า

Reading Time: 2 minutesLive and Let Die ในความหมายของลิซ่าอาจบอกเราด้วยว่า ผู้ร้องกำลัง ‘ไม่แคร์’ กับสิ่งที่เคยเป็นตัวตนส่วนหนึ่งของเธอ มันคือความกล้าหาญ กล้าที่จะเดินต่อไปข้างหน้าอย่างแข็งแกร่ง และน่าจะถือได้เลยว่านี่คือการ ‘ประกาศอิสรภาพ’ ในระดับโลก

โตมร ศุขปรีชา

GRID • LIST • PAGINATION

ผลิบาน, แล้วเลือนหาย

Reading Time: < 1 minuteดั่งดอกซากุระที่สวยงามเฉิดฉายพรั่งพรายสะท้านตาเพียงใด ในที่สุดก็ต้องยอมร่วงโรยปล่อยวาง เมื่อกฎเกณฑ์ของเวลาเดินทางมาถึง 

Breaking the Cycle กับดวงตาข้างที่เหลือของดารุมะ

Reading Time: < 1 minuteตุ๊กตาดารุมะปรากฏตัวในภาพยนตร์สารคดีการเมืองเรื่องสำคัญของไทยอย่าง Breaking the Cycle เพียงไม่กี่ครั้ง – แต่สำหรับโตมร นี่คือใจกลางของความหมายที่ยึดกุมความหมายทั้งปวงในหนังเรื่องนี้เอาไว้

ไร้รากเหง้า

Reading Time: < 1 minuteตัวตน ณ ที่แห่งหนึ่งของ เอแรมโบ้ เมื่อรัฐผลักให้เขาและเธอที่ไร้บ้าน กลายเป็นคนที่ไร้ตัวตนและไร้รากเหง้าไปด้วย

‘ผู้หญิงโลกที่สาม’ ในขบวนสตรีนิยมโลกที่หนึ่ง

Reading Time: 3 minutesคลื่นเฟมินิสต์ลูกแรกที่นำโดยกลุ่มสตรีผิวขาวชนชั้นกลาง การเคลื่อนด้วยแนวทางนี้ อาจทำให้ ‘สตรีนิยมโลกที่สาม’ ไม่สามารแทรกเข้าในขบวนการเคลื่อนไหวของผู้หญิงได้?

อุดมคติและการปฏิบัติได้จริง เส้นทางที่(ไม่)ต้องเลือก

Reading Time: < 1 minuteคำว่า “อุดมคติ” กับการ “ปฏิบัติได้จริง” ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมันไม่ได้ห่างกันหรืออยู่ตรงกันข้ามแบบขาวดำแบบที่คนในยุคปัจจุบันเข้าใจ

4,300 คดี ระเบิดเวลาทางการเมืองในระยะเปลี่ยนผ่าน

Reading Time: 3 minutesตามบันทึกของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนมีคดีความความที่เกิดจากแรงจูงใจทางการเมืองมากกว่า 4,000 คดี สูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่มีคดีความทางการเมืองเกิดขึ้น ในช่วงที่มีรัฐบาลจากการยึดอำนาจโดยคณะรัฐประหาร และรัฐบาลจากการเลือกตั้ง

1 33 34 35 36 37 204

GRID • CAPTION

GRID • CARD • HIDE SUMMARY

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Columnist

The Monument

Reading Time: 2 minutesอนุสาวรีย์ซึ่งเป็นชื่อหนังสือ ได้เขียนถึงเรื่องราวหลักเพื่อบอกว่าหลายส่วนงานในคอมมูนเดินหน้าสู่การสร้างรูปปั้นใหญ่เพื่อยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวคอมมูน นั้นคืออนุสาวรีย์ แต่ละคนถูกแจกจ่ายงงานให้มีส่วนงานเป็นประจำ แบ่งกันทำตามหน้าที่ และนี่คงล้อมาจากแนวคิดของมาร์ก หรือเสียดสีทฤษฎียูโทเปียของโลกสังคมนิยม 

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา
Environment

พลัดถิ่น โยกย้ายถิ่นฐาน และการรุกราน ก่อนการสูญพันธุ์ครั้งที่ 6 มาถึง ผ่าน AFTER : Land of Faith ใน CCCL 2025

Reading Time: 2 minutes[EXCLUSIVE Interview] กับ นคร ไชยศรี ผู้ออกแบบกิจกรรมและเทศกาล CCCL Film 2025
หลัง ‘AFTER : Land of Faith’ ร่วมเป็น 1 ใน 8 หนังสั้นประเด็นวิกฤตโลกรวนที่โดดเด่น คัดสรรจากทั่วโลก หนังสั้นเหล่านี้จะช่วยขยายการรับรู้เกี่ยวผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่กว้างขึ้น

ในวันที่การพลัดถิ่น โยกย้ายถิ่นฐาน และการรุกราน กำลังรุกคืบทุกสรรพชีวิตภายใต้สภาวะโลกรวน ในสายตาของคนทำหนังสั้นจากทั่วโลก เราเห็นการปรับตัวแบบใดเกิดขึ้นแล้วบ้าง

Decode
Economy

EV จีนเร็วแรงทะลุนรก! ผู้ผลิตหดหาย แรงงานหลุดลอย ‘สินค้าภูมิรัฐศาสตร์’ อาจไม่ใช่แค่รถยนต์

Reading Time: 5 minutesประเทศไทยกับความท้าทายในฐานะ Detroit of Asia การเปลี่ยนผ่านอุตสาหกรรมยานยนต์ไปสู่ยานยนต์ไฟฟ้า ที่ SME อาจต้องปิดบริษัทและแรงงานอาจต้องตกงาน

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Columnist

[00.00 น.] ในนามของการรอ

Reading Time: 3 minutesยังเหลือเวลาอีกสองนาทีก่อนถึง 00.00 น. เรากำลังรออะไรอยู่ ในพ.ศ.นั้น รงค์ วงศ์สวรรค์ รอให้ถึงวันส่งต้นฉบับ ในพ.ศ.นี้ ไรเดอร์หนุ่มขี่มอเตอร์ไซค์จากปั้มเหลืองไปปั้มน้ำเงิน ดูสิว่าแก๊สโซฮอลล์ 95 จะต่างกันสักกี่มากน้อยภาวนาขอให้ทรง ๆ ทรุด ๆ ดีกว่า “ขึ้น” แต่ถ้าเป็นไปได้ก็จะ รอจนกว่าราคาน้ำมันจะ “ลด”

ภัทราภรณ์ ศรีทองแท้

GRID • CONTENT

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

เลือดแต้จิ๋วในมรสุม ‘ปิตาธิปไตย’ โพ้นทะเล

Reading Time: 3 minutesสายธารภาษาเสื่อผืนหมอนใบ เมื่อเลือดแต้จิ๋วข้นกว่าน้ำเจ้าพระยา
ในวันที่หลานม่า-หลานกง ตั้งคำถามกับรากลึกกว่าเดิม

“คนดี” ไม่มีจริง “ระบบที่ดี” ช่วยชาติพ้นภัย

Reading Time: 3 minutesวาทกรรม ‘คนดี’ ถูกหยิบมาใช้อีกครั้ง คำถามจึงเกิดขึ้น “คนดี” ถูกใช้โดยใครเเละเพื่อใคร

MIX

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Interviews

ไม่มีเธอ ฉัน เขา เพราะเราเป็น ‘เพียงคน’

Reading Time: 4 minutesในช่วงเวลาที่การเรียกร้องในทุกมิติกำลังเติบโต สิ่งหนึ่งที่ดูแล้วจะสะท้อนการเรียกร้องแบบไทยๆ เสียเหลือเกิน คือ ‘การถกเถียงเรื่องการใช้คำ’ ด้วยระดับภาษา ความจำกัดในการแปล ความล้าหลังในการบัญญัติศัพท์ ที่ให้ความหมายไม่ตรงกับบริบทในปัจจุบันอีกต่อไป จนทำให้ใครหลายคนดูเหมือนจะ ‘woke’ และ ‘เรื่องมาก’ เกินไปอยู่บ่อย ๆ ยังเป็นสิ่งที่เราได้เห็นกันอยู่แบบรายวัน – บางทีก็รายชั่วโมงเสียด้วยซ้ำไป

ณัฐพร เทพานนท์

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

ไทยแลนด์บูลลี่แลนด์

Reading Time: < 1 minuteราบูลลี่หรือด้อยค่ากันได้ทุกแบบ  ตั้งแต่การทักทายหรือสนทนาธรรมดาประจำวัน  แบบ ’พักนี้อ้วนขึ้นนะ’  หรือแสดงความเห็น  ‘เธอจะสวยมากเลยถ้าจมูกโด่งอีกนิด’  กระทั่งแสดงความห่วงใย  ‘หน้าตาก็สวยนิสัยก็ดีทำไมยังไม่มีแฟน’  ไปจนถึงล้อเล่นฉันท์มิตรที่เอาทุกเรื่องทุกสิ่งอันกระทั่งเรื่องที่ไม่เห็นมีอะไรให้บูลลี่ก็ยังเอามาบูลลี่ได้  

ฟาร์มหมูล่มสลาย “อีกห้าปียังไม่ฟื้น” เซาะใต้ภูเขาน้ำเเข็ง ทลายวงจรกินรวบ

Reading Time: 3 minutesพูดคุยกับ ‘วิเชียร’ คนเลี้ยงหมูขาดทุนหลักสิบล้าน เเละ ‘วิฑูรย์’ เเห่งไบโอไทย ถึงปัญหาบนยอดเเละใต้ภูเขานำเเข็งวิกฤติหมูพร้อมเเนะทางออกช่วยเกษตรกรรายเล็ก-กลาง

แฟนตาซีของความจน ในสายตาผู้กำหนดนโยบายจากยอดพีระมิด

Reading Time: 2 minutes“อาจารย์หนูมีเรื่องจะเล่าให้ฟัง” เธอเป็นนักศึกษาปี 1 มหาวิทยาลัยมักจะโฆษณาอยู่เสมอว่ามีทุนการศึกษาสำหรับผู้ที่ยากจนและมีความต้องการจริงๆ และทุกคนสมควรที่จะได้เรียนก็จะได้ทุน เธอเป็นคนหนึ่งที่ทางบ้านได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจนี้

ขยะริมรั้ว มะม่วงข้ามแดน สิ้นสุดการเยียวยาหนองแหน ‘แค่…รอให้เราหมดแรงขัดขืน’

Reading Time: 2 minutes ขยะนับอนันต์ที่โอบรัด ‘หนองแหน’ ก็ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ หรือเข้ามา เปลี่ยนความสัมพันธ์ของชาวบ้านกับสิ่งแวดล้อม จากพื้นที่ที่ถูกขนานนามว่าเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญ แห่งหนึ่งของภาคตะวันออก มาสู่พื้นที่ที่มีผลผลิตทางการเกษตรไม่แน่นอนและผันแปรตามบ่อขยะ “ป้าหนู” หรือ “แม่หนู” ยืนยันถึงผลกระทบนี้ได้ดี่สุด

SLIDER • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Play Read

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Human Rights

ดินแดนแห่งการซ้อมทรมาน วิสามัญ และอุ้มหาย

Reading Time: 3 minutes“ตำรวจคือผู้พิทักษ์สันติราษฎร์” คือประโยคที่เราต่างถูกกล่อมเกลามาตั้งแต่เด็ก แต่ยิ่งโตยิ่งเห็นความจริงก็ยิ่งรู้สึกว่านั่นเป็นเรื่องโกหก

Gender & Sexuality

7 ความเห็นร่วมสมัยกับประเด็น #ทำแท้งปลอดภัย

Reading Time: 3 minutes“กฎหมายนี้ส่งผลต่อประชาชนทุกคน ไม่ใช่เพศใดเพศหนึ่ง” – แม้การทำแท้งจะเป็นสิทธิทางร่างกายของผู้ตั้งครรภ์ แต่เสียงวิพากย์วิจารณ์จากสังคมที่กระพือขึ้นมาใหม่ทุกครั้งเมื่อมีการพูดถึงการยุติการตั้งครรภ์ปลอดภัยกำลังพยายามบอกอะไรกับผู้สนับสนุนข้อกฎหมายนี้กันแน่

SLIDER • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Play Read,Life Matters

แด่ประชาธิปไตยผืนดิน

Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Human & Society

กลับมาดูหนังอวกาศ 5 เรื่องอีกครั้งยังเต็มไปด้วย ‘คำถาม’ ชีวิตจากนอกโลก

Reading Time: 2 minutesภาพยนตร์อวกาศ 5 เรื่อง ที่จะชวนคุณตั้งคำถามผ่านตัวละครถึงเหตุผลในการมีชีวิตอยู่, ความสมเหตุสมผลของศีลธรรมในฐานะมนุษย์ รวมไปถึงความสัมพันธ์ของคุณ ไม่ว่าจะในฐานะพ่อ, แม่ หรือลูก

นิศาชล คำลือ
News,Project

รับสมัคร นักรีวิวกรุงเทพ[หน้าใหม่]

Reading Time: < 1 minute‘City Journey’ เดินปลุกกรุง Project ล่าสุดของ Decode.plus ชวนคนรุ่นใหม่/รุ่นใหญ่มาวอล์ค( Walk)วล็อก(Vlog) ปัญหาในกรุงเทพ และความต้องการของคน(อยู่)กรุงจริงๆไม่อิงนิยามจากทะเบียนบ้าน

editor
Crack Politics,Interviews

รับบทเป็นนักสืบไซเบอร์ เมื่อคนใกล้ตัวตกเป็นเหยื่อข่าวลวง

Reading Time: 2 minutesขณะนี้คุณอยู่ในที่เกิดเหตุคดีฆาตกรรม ซึ่งอาจจะเป็นบนเตียงของคุณ ในห้องน้ำ หรือที่โรงเรียนก็ได้ ความจริงบางอย่างถูกฆ่าตาย ใครบางคนกลบเกลื่อนหลักฐานและทิ้งร่องรอยข่าวลวงไว้เต็มไปหมด เราขอชวนคุณสวมบทบาทเป็นนักสืบ และสิ่งแรกที่คุณต้องทำ คือเลือกผู้ช่วยของคุณ ซึ่งตัวเลือกที่ทีมงาน De/code เตรียมไว้ให้คุณนั้นมีความแตกต่างกันมากทีเดียว

พริม มณีโชติ
Education,Interviews

ผลพวง(ไม่)เลื่อนสอบทีแคส64 สึนามิการศึกษาไทยซัดเข้าฝั่งเศรษฐกิจ โดมิโนตัวสุดท้ายกลายเป็นคนแพ้ถูกคัดออก

Reading Time: 2 minutesประเทศไทยอาจเป็นประเทศแรกในโลกที่เด็กนักเรียนฟ้องศาลให้เลื่อนสอบ จากสถานการณ์โรคระบาดและความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไป แนวโน้มเด็กไทยเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยลง เพราะพวกเขาคือโดมิโนตัวสุดท้ายในสายพานความพังของระบบการศึกษา De/code ชวน ผศ. อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งในครูผู้เรียกร้องสิทธิร่วมกับเด็กพูดคุยเรื่องเสียงที่ผู้ใหญ่ไม่ได้ยิน

ทิพากร ไชย​ประสิทธิ์​

SLIDER TO GRID • CAPTION