
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Crack Politics
มิใช่การต่อสู้ครั้งสุดท้าย III รวมกวีนิพนธ์แด่เพื่อนเมียนมา
Reading Time: 2 minutesเป็นรวมกวีนิพนธ์ที่พูดถึงเหตุการณ์ในเมียนมาได้ร่วมสมัย อย่างพยายามเข้าอกเข้าใจ และอบอวลไปด้วยสำนึกร่วมแห่งความเป็นมนุษย์มากที่สุด
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
วงจรอุบาทว์ยากจนเริ่มต้นที่ระบบการศึกษา
Reading Time: < 1 minuteหลังวิกฤตโควิด มีเยาวชน’หลุด’ออกจากระบบการศึกษาทันทีราวๆ สองแสนคน
ในจำนวนนี้มีคนหนุ่มสาวน้อยมากที่สามารถระเกียกตะกายกลับเข้าระบบการศึกษาได้อีก หากไม่ได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
ความยากจนทำให้ประชากรของเราไม่สามารถรับมือกับ’อุบัติเหตุ’ของโลกได้มากไปกว่าแล่เนื้อเถือหนังตัวเองเอาชีวิตรอด หลายครอบครัวจำเป็นต้องเลือกส่งแค่ลูกคนใดคนหนึ่งเรียน เพราะไม่มีรายได้มากพอจะสามารถส่งเสียลูกๆ ได้ทุกคน และจะเลือกส่งเฉพาะลูกคนที่’หัวดี’หรือเรียนได้คะแนนดีพอ ซึ่งในแง่เศรษฐศาสตร์คือเป็นการลงทุนที่คุ้มความเสี่ยงกว่า
อ่านประวัติศาสตร์และการเมืองไทยปี 2563 ผ่านหนังสือ 10 เล่ม
Reading Time: 3 minutesปี 2563 เป็นปีที่หนักหนาสาหัสสำหรับคนทั้งโลกรวมถึงชาวไทย หลายคนเรียกว่าเป็นปีแห่ง “มหาวิกฤต” และสื่อหลายสำนักลงความเห็นว่าเป็นปีที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ (the worst year ever) ผหยิบหนังสือที่เกี่ยวกับการเมืองและประวัติศาสตร์ไทยที่คิดว่าสำคัญและน่าสนใจที่สุด 10 เล่มมาแนะนำ มีทั้งที่เป็นหนังสือวิชาการและบันทึก ครอบคลุมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยจำกัดไว้เฉพาะหนังสือที่เพิ่งออกใหม่ในปีนี้
ลอกคราบ ผลิใบใน “วอลเดน”
Reading Time: 2 minutesคงมีไม่กี่ครั้งในชีวิตที่เราจะตกต่ำถึงขีดสุด ,ขอให้เป็นครั้งเดียว และคงเป็นครั้งนี้ที่โควิดไล่ต้อนเราให้จนมุม ซึ่งธอโร ไม่มีโอกาสแบบนั้น แต่เขาเลือกเองต้อนตัวเองให้จนมุม หวังจะเรียนรู้ในสิ่งที่สมควรจะรู้ ในสภาพที่อับจนและต่ำต้อยพอกัน ต่างกันเพียงแค่…ฉันไม่ได้เลือกเอง!
GRID • LIST • PAGINATION
ฤาไม่สิ้นกลิ่นกามรส
Reading Time: 2 minutesเรื่องราวของหญิงสาวที่เป็นโสเภณีในสายตาของรัฐ แต่กลับไม่มีตัวตนบนกฎหมายไทย 20 ปีของกะหรี่ที่ยังถูกดูแคลน ท่ามกลางคำยืนยันของบัวรีและบัวไรว่ากะหรี่ก็มีหัวใจ
โครงสร้างแห่งความจำนน
Reading Time: < 1 minuteการไม่พูดไม่ส่งเสียงของเรายังทำให้เราเป็นประชากรที่ยอมจำนนได้อย่างน่าทึ่ง เรารถติดไปทำงานวันละหลายชั่วโมง เคยชินและคิดเอาเองว่าเป็นเรื่องแก้ไขไม่ได้ ในขณะที่ทั่วโลกแก้ไขปัญหานี้เสร็จจบกันไปหลายทศวรรษแล้ว
ห้ามบุกรุก! เมื่อหาดถูกทําให้เป็นเรื่องของรัฐและกม. ทวนนิยาม ‘ชายหาด’ แล้วใครกันคือเจ้าของ
Reading Time: 3 minutesเมื่อชายหาดสาธารณะถูกครอบครองโดยเอกชน บ้างผ่านการออกเอกสารสิทธิ์ บ้างปิดทางกั้นสาธารณะ เกิดขึ้นในหลายจังหวัด กินพื้นที่เป็นแนวยาวหลายกิโลเมตร De/code ชวนตั้งคำถามว่า ‘ชายหาดเป็นของใคร ?’ อีกครั้งหลังเหตุการณ์ชาวต่างชาติเข้าทำร้ายร่างกายพญ.ธารดาว จันทร์ดำ ที่แหลมยามู ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อสว.ไทย และการสงวนไว้สำหรับชนชั้นนำ
Reading Time: < 1 minuteกติกาการคัดเลือกที่ซับซ้อนเข้าใจยากและกีดกันประชาชนส่วนใหญ่ออกไปจากกระบวนการสะท้อนเจตนาของผู้ร่างรัฐธรรมนูญ 2560 ที่ต้องการลดทอนอำนาจของประชาชนในการกำหนดว่าใครควรจะได้เป็นวุฒิสมาชิก ซึ่งสะท้อนอย่างชัดเจนว่าชนชั้นนำอนุรักษนิยมยังคงต้องการสงวนเวทีวุฒิสภาไว้ให้เป็นกลไกค้ำจุนอำนาจของตน
‘ไม่มีใครอยากเข้าร่วมกับทหาร’ ความเป็นมนุษย์ที่ถูกพรากจากหญิงสาวเมียนมา ในแนวรบที่กองทัพบังคับเกณฑ์ทหาร แต่ฉากหลัง ‘เราตายในแนวหน้า’
Reading Time: 3 minutesหลังประกาศเกณฑ์ทหาร คนเมียนมาทะลักออกนอกประเทศ ทว่าไม่ใช่ทุกคนที่จะออกมาได้ หนึ่งในนั้นคือ จูเลีย ที่ ‘การรับใช้ชาติ’ เป็นเพียงการก้าวสู่ความตายเท่านั้นโลกที่หยุดนิ่งไม่ทันก้าวย่างของยุคสมัย กระแทกซ้ำด้วย ‘การรับใช้ชาติ’ ที่สำหรับเธอเป็นเพียงก้าวสู่ความตาย
ONLY HUMAN บนเส้นทางประชาธิปไตย
Reading Time: 3 minutesเรายังไม่ลืม ไม่เคยลืม แต่มันชัดเจนอีกครั้งจากภาพแรกที่พร่าเลือน ถึงภาพสุดท้ายที่มัว ๆ แสงสลัว ๆ จากกลางวันที่แสงสว่างสาดส่อง ปิดจบด้วยค่ำคืนที่มืดมัว มืดจนวันนี้ก็ยังมืด
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ฉากชีวิตเด็กชายวาฤทธิ์ สมน้อย ลูกแม่ไม่ใช่ฮีโร่ประชาธิปไตย
Reading Time: 3 minutesเรื่องราวก่อน 16 ส.ค. ก่อนเสียงกระสุนปืนจะดังขึ้น ก่อนที่ทุกสิ่งอย่างของครอบครัว วาฤทธิ์ สมน้อย จะเปลี่ยนไปตลอดกาล
เส้นบาง ๆ ระหว่าง “ปีศาจ” กับ “เชื้อโรค” ถอนพิษความกลัวด้วยประวัติศาสตร์การแพทย์
Reading Time: 3 minutesการสวดมนต์ไม่ใช่การขับไล่โควิด-19 แต่เป็นการสร้างขวัญกำลังใจแก่ประชาชน ทว่าการสร้างขวัญกำลังใจโดยใช้ความศักดิ์สิทธิ์เข้าช่วย เพื่อสร้างความรู้สึกดีให้แก่ประชาชน ไม่ต่างจากที่รัฐสมัยโบราณก็ใช้ความศักดิ์สิทธิ์เข้าปราบปีศาจที่มีนามว่าโรคระบาดเช่นกัน
ค่ายนรกในซินเจียงอุยกูร์
Reading Time: 2 minutesย ซึ่งหลายคนล้วนเป็นผู้สูงอายุ ไม่สามารถสื่อสารภาษาจีน และนับถือศาสนาอิสลาม เวร่าเอาแต่นึกว่า “ฉันรักประเทศชาติไม่มากพอไม่ได้ช่วยเหลือพรรครัฐบาลและประเทศชาติ แต่นี่ไม่ใช่ความผิดของฉัน มันเกิดจากความกลัวอิสลามที่แพร่กระจายและเพ่งเล็งมาที่ฉัน
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว
Reading Time: 2 minutesวรรณกรรมคลาสสิก ที่ต้องยอมรับก่อนเปิดอ่าน ว่าไม่ใช่จะอ่านจบได้ง่าย ๆ ไม่ใช่เพราะเนื้อเรื่องแสนน่าเบื่อ แต่เพราะสลักภาษาที่คมคาย ชวนตีความ การลำดับเนื้อเรื่อง อีกทั้งชื่อตัวละครที่ชวนสับสนจนต้องขีดเส้นด้วยปากกาว่าใครเป็นใครเพราะนี่คือเรื่องราวของ 1 ตระกูลแต่หกลำดับชั่วอายุคน ที่ส่งต่อการปกครองจากรุ่นสู่รุ่น แม้ในบางช่วงจะมีผู้ปกครองจากรัฐส่วนกลางเข้ามา ซึ่งนี่คือเหตุผลที่ทำให้สับสนกับตัวละครสำคัญ เพราะสายตระกูลบวนเดียที่เปลี่ยนรุ่นไปตามลำดับ แต่ถ้าหากหลงรักเข้าแล้ว จะให้ต้องเปิดอ่านอีกกี่รอบ ผมก็เชื่อว่าทุกคนจะอ่านจบ เพราะนี่แทบจะเป็นวรรณกรรมประวัติศาสตร์ชุดย่อของมวลมนุษยชาติ
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
การเมืองตีบตัน ฝุ่นตลบ! ไม่มีฉากจบความขัดแย้งรอบใหม่
Reading Time: 3 minutes‘ประจักษ์ ก้องกีรติ’ มองข้ามช็อตการเมืองไทยฝุ่นตลบ แม้จะมีการเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรีก็เป็นเพียงการยืดเวลาของความขัดแย้งที่ไม่มีทางออกนี้ให้ทอดยาวออกไป
สนพ.เล็ก แต่ ‘Passion ใหญ่’ บทสนทนานิยายยูริกับ lily house.
Reading Time: 2 minutesจริงๆ แล้วนิยายวายไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในขอบเขตชายรักชายเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงนิยายประเภทหญิงรักหญิงหรือที่เรียกว่ายูริ (Yuri) ด้วยเช่นกัน
ดวงตาแห่งผู้เฝ้ามอง
Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 28 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus
ไม่ได้เป็น gatekeeper ไม่ใช่ agenda-setter สื่อไทยในวันที่สังคมเดินนำหน้า
Reading Time: 3 minutes‘ในวันที่ไม่ว่าใครก็เป็นสื่อได้ สื่อมวลชนยังคงจำเป็นอีกหรือเปล่า’ Decode สรุปความจากวงเสวนา Future Journalist นักข่าวรุ่นใหม่ระยะเปลี่ยนผ่าน ซึ่งจัดขึ้นโดยเว็บไซต์ Decode เนื่องในโอกาสงานเปิดตัวเว็บไซต์ Decode Grand Opening เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563