
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Columnist
มองผ่านซากอิฐปูน ในงานเขียน น. ณ ปากน้ำ
Reading Time: 4 minutesผ่านมากกว่า 56 ปีหลังจากหนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์ครั้งแรก หลังจากอ่านจบนอกจากซากอิฐปูน ประวัติศาตร์ศิลปะ รูปแบบเจดีย์ ที่อัดแน่นอยู่ในเล่ม ผมกลับสนใจคำบ่น และเสียงเหนื่อยหอบ รวมไปถึงเรื่องเล่าระหว่างทางที่แอบซ่อนอยู่ระหว่างบรรทัด
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เมื่อผมเห็นพวกเขายังรักษาความฝันอย่างทระนง : คนรุ่นใหม่ในวันที่ไร้ม็อบ
Reading Time: < 1 minuteภาพแตกต่างจากเมื่อ 3 ปีก่อนสำหรับนักศึกษาที่หาญกล้าท้าทายต่อ แก๊สน้ำตา กระบอกปืน คุกศาล ทหาร ตำรวจ อย่างทระนง
#ทวงสัญญารัฐสวัสดิการ นโยบายหาเสียงพรรคพลังประชารัฐ “ค่าแรง-รัฐสวัสดิการ” สอบตกทุกประเด็น
Reading Time: 2 minutesเครือข่ายรัฐสวัสดิการเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรม We Fair จับมือเครือข่ายสลัมสี่ภาค และเครือข่ายแรงงานเพื่อสิทธิประชาชน จัดกิจกรรม WE FAIR ON TOUR #ทวงสัญญารัฐสวัสดิการ ทวงสัญญานโยบายหาเสียงพรรคการเมือง ในวาระครบรอบ 2 ปี การเลือกตั้ง 24 มีนา 62
แด่รักที่ไม่ลงเอย และดอกไม้ที่ไม่เคยงอกงาม
Reading Time: 2 minutesเสียงนับเลขที่ไม่มีใครนับต่อ เกมซ่อนหาที่ไม่มีผู้หา แม่ที่ไม่ยิ้มเหมือนเดิม พ่อที่เดินออกจากบ้านโดยไม่หันหลังกลับ และเด็กคนหนึ่งที่หลงเหลืออยู่ในบ้านว่างเปล่า กับโต๊ะไม้ฝุ่นเกาะและจานมาม่าเย็นชืด
GRID • LIST • PAGINATION
งานที่ให้ผลตอบแทนทางใจ
Reading Time: < 1 minuteการหมกมุ่นทุ่มเทสร้างสรรค์ต่างหากที่จะทำให้เรารู้สึกถึงความสามารถ คุณค่าของเรา และการได้ทำสิ่งที่ชอบต่างหากที่ทำให้เราเพลิดเพลินเจริญใจ ไม่เบื่อหน่าย …ซังกะตาย การทำสิ่งหนึ่งยาวนานพอยังช่วยให้เราค้นพบข้อจำกัด ความเปราะบาง ความเข้มแข็ง รวมทั้งศักยภาพที่ซ่อนเร้นอยู่ของตัวเอง
DON’T PANIC
Reading Time: 3 minutes“ชีวิตหนอชีวิต ช่วงนี้ช่างลำบากยากเข็ญเสียเหลือเกิน” เขาพึมพำกับตัวเอง บางขณะฉันคิดว่าเขากำลังพูดและรู้สึกแทนเราที่รอด แต่ก็ไม่ได้ชนะในระบบเลยสักครั้ง
35 ปีที่ไปไม่ถึงฝันสวัสดิการหลังเกษียณของลูกจ้างประจำ กทม.
Reading Time: 4 minutes35 ปีในฐานะลูกจ้างประจำกรุงเทพฯ แต่ชีวิตเกษียณกลับไร้สวัสดิการ น้ำพักน้ำแรงตลอดชีวิตการทำงานของลูกจ้าง ไม่สามารถแลกเป็นสวัสดิการในบั้นปลายชีวิตได้เลยหรือ?
5-3-5 พาชายหาดไทยกลับมาอยู่จุดที่ดีอีกครั้ง
Reading Time: 2 minutesเลิก รื้อ เริ่ม วัคซีน 3 เข็มแรก ป้องกันกำแพงกันคลื่นระบาด กว่า 200 กิโลเมตร ที่เอาคืนไม่ได้
สุพราหมัณยัมและชัยศังกร: สองพ่อลูกเบื้องหลังการต่างประเทศอินเดียร่วมสมัย
Reading Time: 3 minutesในบรรดารัฐมนตรีของรัฐบาลอินเดียปัจจุบันนำโดยนายกรัฐมนตรีนเรนทรา โมดี (Narendra Modi) รัฐมนตรีที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดคือชัยศังกร
จดหมายถึงลูกสาวฉบับที่ 3 : สังคมชายเป็นใหญ่ ความเหลื่อมล้ำมหาศาลในระบบทุนนิยม
Reading Time: < 1 minuteถ้ามีมนุษย์ต่างดาวมองมาที่โลกของเรา สิ่งที่พวกเขาจะแปลกใจที่สุดคือ ความเหลื่อมล้ำมหาศาล ที่ไม่น่าเชื่อว่าเราอยู่ในสังคมเดียวกัน หายใจด้วยอากาศเดียวกัน ความเหลื่อมล้ำนี้อาศัยกลไกทางเศรษฐกิจ ระบบทุนนิยมปรับเปลี่ยนตัวเองให้สะสมความมั่งคั่ง โดยที่โยนความเสี่ยงทั้งหมดให้กับแรงงาน โดยอาศัยระบบการเมืองที่สุดท้ายประชาธิปไตย เหลือเพียงแค่รูปแบบ แต่นอกจากกลไกทางการเมืองและเศรษฐกิจ กลไกทางวัฒนธรรมยังมีส่วนสำคัญในการทำให้คนยอมรับสภาพที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ และหนึ่งในค่านิยมนั้นคือค่านิยมชายเป็นใหญ่ ที่ค้ำจุนความเหลื่อมล้ำของสังคมนี้
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ลำนำ ‘ฉันทนา’ หน่าฮ่านเดอะซีรีส์ ความคับข้องใจที่แฝงฝังของลูกอีสาน
Reading Time: 3 minutesDe/code คุยกับผู้กำกับ ฉันทนา ทิพย์ประชาติ ถึงแนวคิดการทำ “หน่าฮ่านเดอะซีรีส์” และตัวตนลูกอีสานผ่านงานของเธอ
ศึกชิงผู้ว่าฯ กทม. เกม (กระดาน) ที่เราต่างเป็นผู้เล่น
Reading Time: 3 minutesเพราะเราจะต้องไม่ให้ท้องถิ่นของเรากลายเป็น “เมืองเสียโอกาส” และสิ่งที่ทำให้ประชาชนเสียโอกาสมากที่สุดอย่างหนึ่งนั่นก็คือ การขาดโอกาสในการมีส่วนร่วมทางการเมือง ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ โดยที่เราส่วนใหญ่ไม่ทันได้สังเกตเห็น เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร ไม่ได้เลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพฯ มา 11 ปีแล้ว
ความตายที่ชายแดน ‘อ่องโกโก’ ความยุติธรรมที่ล้มเหลว ‘ลอยนวล’
Reading Time: 4 minutesสิ้นเสียงร้องของชายหนุ่ม 12 มกราคม 2567 อ่องโกโกพลเมืองชาวเมียนมาถูกพบเป็นศพบริเวณชาย ท่ามกลางข้อสงสัยว่าใครเป็นฆาตกรรม ระหว่างทหารไทยหรือทหาร BGF?
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ไขข้อข้องใจ ในวันที่อะไร ๆ ก็เรียกว่า…”Soft power”
Reading Time: < 1 minuteผลงานของนักศึกษาฝึกงานดีโคตร ๆ รุ่น 1 กีรติกา อติบูรณกุล
“ซอฟท์พาวเวอร์” คำที่หลายคนเคยได้ยิน แต่หลายครั้งกลับยังไม่เข้าใจ🤔 ถ้าในเมื่ออะไร ๆ ก็สามารถเรียกว่าซอฟท์พาวเวอร์ได้ ทำไมค่านิยมแบบไทย ๆ ยังไปไม่ไกลสู่สายตาโลก
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ปราสาททราย ‘ลำไย’ พังทลายในรอบ 10 ปี
Reading Time: 3 minutesอุดมคติเหล่านี้ดูสวนทางกับสถานการณ์จริงของชาวสวนที่นั่งมองต้นลำใยที่เหลือแต่ตอ และยังไม่เห็นทางออกจากหนี้ครัวเรือนสูงลิ่วในปีนี้ ลองมาฟังความเป็นจริงจาก “เลียบ” หญิงชาวสวนที่โตมากลางสวนลำใยที่จังหวัดลำพูน เธอจะเล่าถึงความเปราะบางของอาชีพเกษตรกรไทยให้ฟังตั้งแต่ต้น
โต้คลื่น EV ให้การเปลี่ยนผ่านไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
Reading Time: 3 minutesการเข้าไปสู่โลกใหม่อาจไม่ใช่เรื่องยาก แต่การเข้าไปโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง เป็นเรื่องสำคัญที่เราจะต้องคำนึงถึงอยู่เสมอ การมุ่งเน้นที่ประโยชน์ของสิ่งแวดล้อมจึงไม่ควรลืมมิติทางสังคม อย่างแรงงานเก่าเหล่านี้ เพื่อสร้างสังคมที่ทุกมิติสามารถเติบโตไปได้ พร้อม ๆ กัน
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
รสโรงเรียน รสชาติบ๊วย
Reading Time: < 1 minuteผลงานของนักศึกษาฝึกงานดีโคตร ๆ รุ่น 1 พัมธมน สมหมาย
“ด.ญ. บ๊วยมาเรียนค่ะ” “ด.ช. บ๊วยมาเรียนครับ” คุณเบื่อไหมที่การศึกษาไทยมักผลักเด็กที่เขาว่าไม่เก่ง ไปเป็น “ตัวบ๊วย” ? กลับกลายว่าโรงเรียนนั่นเองที่ไม่มีพื้นที่ให้นักเรียนที่แตกต่างและหลากหลาย ถึงเวลาแล้วที่ไอ้พวกตัวบ๊วยอย่างพวกเรา จะขอเลือกรสชาติของตัวเอง โดยไม่ต้องให้ใครมาชงให้ ร่วมชมชิมรสชาติที่แตกต่างไปกับแขกรับเชิญต่างเจนกับพวกเราได้ใน “รสโรงเรียน รสชาติบ๊วย”