
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Human & Society
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
Human & Society
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Welfare state
ลงทุนเพื่อเกษียณแค่มายา ข้าวปลาสิของจริง
Reading Time: 2 minutesสวัสดิการของรัฐ “ไม่เพียงพอ” ต่อการเกษียณ เลยเกิดคำถามต่อว่า เรื่องของเกษียณควรเป็นเรื่องของตัวเอง หรือรัฐควรมีสวัสดิการที่รองรับอย่างเท่าเทียม
GRID • CARD
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
สนพ.เล็ก แต่ ‘Passion ใหญ่’ บทสนทนานิยายยูริกับ lily house.
Reading Time: 2 minutesจริงๆ แล้วนิยายวายไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในขอบเขตชายรักชายเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงนิยายประเภทหญิงรักหญิงหรือที่เรียกว่ายูริ (Yuri) ด้วยเช่นกัน
ในดินแดนวิปลาส: สามัญชนคือคนเจ็บปวด
Reading Time: 3 minutesพวกเขาก็กลายเป็น ‘ภัย’ แห่งความมั่นคงของทุกสรรพสิ่ง ขึ้นอยู่กับว่าฝ่ายตรงข้ามจะยัดเยียดให้ เสมือนหนึ่งเป็นแอกที่พันธนาการพวกเขาให้สูญสิ้นชีวิตอันปกติสุข
สุนทรียศาสตร์ และรัฐสวัสดิการ: แด่ ถนอม ชาภักดี
Reading Time: < 1 minuteว่าด้วย “ความงาม” สิ่งที่อาจารย์บรรยายในวันนั้นสำคัญกับผมมาก และมันมีความเกี่ยวพันกับเรื่องรัฐสวัสดิการ ความเสมอภาค ความเท่าเทียมในมิติต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ง
GRID • LIST • PAGINATION
โกดังไทยอำพราง Made by China ที่ยกกระบัตร มลพิษข้ามชาติที่รัฐไทยเพิกเฉย ‘ผิดเพี้ยนและผุพัง’
Reading Time: 9 minutesเศษซากไฟไหม้โกดังที่ 8 ของโกดังในซอยคลองเจ๊ก ต.ยกกระบัตร อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร ตั้งแต่ปลายเดือนมกราคม 2568 ไม่ได้ทิ้งร่องรอยไว้แค่หลังคาสังกะสีและอาคารสีดำไหม้ที่พบเครื่องจักรและกากอุตสาหกรรมหลายประเภทไว้ข้างใน
แต่ไฟไหม้ครั้งนี้ ยังทำให้เห็นว่าแท้จริงแล้วข้างใน ‘ประกอบกิจการ’ ที่อันตรายเพียงใด ขณะเดียวกันยังค้นพบถึงกระบวนการอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมที่ผิดกฎหมายหลายประการ
ปลุกผี ‘ชาตินิยม’ ย้อนดูบทเรียนปัญหาสามจังหวัดชายแดนใต้
Reading Time: 3 minutesขยายประเด็น นวลน้อย ธรรมเสถียร ปฏิกิริยาต่อปัญหาชายแดนไทยกับกัมพูชาหนนี้ ทำให้เห็นชัดอย่างหนึ่งว่า กระแสชาตินิยมไทยนั้นปลุกได้ง่ายมาก เราได้เห็นท่วงทำนองชาตินิยมที่ประกอบไปด้วยการทวงบุญทวงคุณ การตำหนิว่า เขมรแอบอ้างสมบัติ หรือมรดกทางวัฒนธรรม การปลุกประเด็นทวงคืนพื้นที่บางแห่ง การสนับสนุนการใช้กำลังตัดสินปัญหา และแน่นอนว่าเราได้เห็นความพยายามที่จะทำให้เสียงที่ “เห็นต่าง” เงียบลง บางทีด้วยการข่มขู่ บางครั้งด้วยความหยาบคาย ด้วยเฮทสปีชที่กำลังกลายเป็นความเคยชินของผู้ใช้โซเชียลไปแล้ว ชาตินิยมอาจมีข้อดีในยามที่ต้องการการรวมพลังสู้ภัยคุกคาม แต่ถ้าไม่ระวังและปล่อยเลยเถิดมันก็อาจจะกลายเป็นภัยที่กัดกินตัวเอง ยังไม่นับว่ามันอาจทำลายโอกาสในการหาทางออกต่อความขัดแย้งแบบสันติ ผู้เขียนอยากจะเล่าเรื่องของชาตินิยมกับผลกระทบที่ฝากเอาไว้อย่างยาวนานในเรื่องหนึ่ง นั่นคือผลของการใช้แนวทางชาตินิยมที่มีส่วนอย่างสำคัญต่อปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ชาตินิยมที่จับต้องได้ง่ายสำหรับเรา ๆ ท่าน ๆ คือผ่านเสียงเพลง หลายคนคงได้ยินเพลงเก่าที่นำมาร้องกันใหม่หลายเวอร์ชันอย่างเพลง “บ้านเกิดเมืองนอน” เพลงนี้อยู่ในกลุ่มเพลงปลุกใจที่เกิดขึ้นในช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่สองภายใต้อิทธิพลของกระแสชาตินิยมในยุคที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีครั้งแรก เพลงนี้เป็นเพลงของคณะสุนทราภรณ์ซึ่งแปลงร่างมาจากวงโฆษณาการและทำหน้าที่ช่วยแปลงสารด้านนโยบายไปสู่การปลุกใจให้พลเรือนนำไปปฏิบัติตาม “บ้านเกิดเมืองนอน” เป็นเพลงที่ชนะการประกวดเพลงปลุกใจในปี 2488 เนื้อเพลงเรียกเร้าความภาคภูมิใจตั้งแต่คำแรก ๆ “บ้านเมืองเรารุ่งเรืองพร้อมอยู่หมู่เหล่า พวกเราล้วนพงษ์เผ่าศิวิไลซ์ เพราะฉะนั้นชวนกันยินดี เปรมปรีดีใจเรียกตนว่าไทย แดนดินผืนใหญ่มิใช่ทาสเขา” “ก่อนนี้มีเขตแดนนับว่ากว้างใหญ่ ได้ไว้พลีเลือดเนื้อแลกเอา รบ รบ รบ ไม่หวั่นใคร มอบความเป็นไทยให้พวกเรา แต่ครั้งนานกาลเก่าชาติเราเขาเรียกชาติไทย……” ต้องขีดเส้นใต้คำว่า คนไทยเป็น […]
ผำ ไข่น้ำ รูป นาม และความท้าทาย
Reading Time: 3 minutesช่วงราวไม่ถึงสามปีที่ผ่านมา เกิดกระแสสนใจพืชอาหารถิ่นชนิดหนึ่ง ซึ่งเดิมทีก็มีการหาอยู่หากินกันในหมู่ผู้คนในชนบทอยู่แล้ว แต่ความสนใจนั้นดูจะขยายตัวกว้างออกไปยังคนนอกวัฒนธรรมอย่างรวดเร็วราวไฟป่า นั่นก็คือกระแส “ตื่นผำ” ที่ผู้บริโภคชาวไทยหันมาสนใจและพูดถึงพืชลอยน้ำสีเขียวขนาดเล็กจิ๋ว เรียกกันหลายชื่อ ตั้งแต่ผำ (Wolffia) ไข่ผำ ไข่น้ำ ฯลฯ กันมากมายอย่างไม่เคยมีมาก่อน
‘สารหนู’ ไม่ไหลกลับ เศรษฐกิจหลับใหล
Reading Time: 4 minutesความเจ็บปวดบางอย่างอาจทิ้งแผลฝังลึกเอาไว้ เช่นเดียวกับความเสียหายที่เกิดขึ้นกับแม่น้ำกกยังหลงเหลือให้เห็นซากปรักหักพังของบ้านเรือน รีสอร์ท ตลอดสองฝั่งแม่น้ำกก ต.ท่าตอน อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากพายุยางิเมื่อปลายเดือนกันยายน 2567 บางรีสอร์ททิ้งร้าง รอการซ่อมแซม ฟื้นฟู มาวันนี้ถูกซ้ำเติมอย่างหนักจากพิษ ‘สารหนู’ ข้ามพรมแดน สีที่ขุ่นข้นของแม่น้ำกกในฤดูน้ำหลากเช่นนี้ จึงเสมือนเครื่องบันทึกความเจ็บปวดซ้ำซากของผู้คน สิ่งแวดล้อม และสายน้ำกำลังจมดิ่งในความรุนแรงที่มองไม่เห็น ยิ่งเป็นหมู่บ้าน ‘ไกลปืนเที่ยง’ ตามนิยามของความห่างใกล้เชียงรายมากกว่าเชียงใหม่ ด้วยระยะทาง 96.9 กิโลเมตรจากตัวเมืองเชียงราย เราเดินทางลัดเลาะไปตามเส้นทางถนนแม่จัน-ฝาง บางขณะดินสไลด์ถนนขาดบางช่องจราจร ‘ถึงแล้ว’ บ้านแก่งทรายมูล ต.ท่าตอน อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ซึ่งติดกับประเทศเมียนมาโดยมีแม่น้ำกกเป็นแนวพรมแดน ในอดีตเป็นจุดสิ้นสุดทางหลวงแผ่นดินถ้าจะเดินทางต่อไปยังจังหวัดเชียงรายจะต้องนั่งเรือหางยาวล่องไปตามแม่น้ำกกใช้เวลาประมาณ 4 ชั่วโมงเลยทีเดียว “แก่งกลางแม่น้ำกก เป็นที่มาของชื่อบ้านแก่งทรายมูล เมื่อก่อนจะมีทรายสีขาวเลย แต่ตอนนี้ที่เห็นนี่ไม่ใช่ทรายนะ โคลนทั้งนั้นเลย” เราเลี้ยวตามป้ายบอกทาง ‘ท่าตอน การ์เด้น รีสอร์ท’ บ้านพักหลายหลังสร้างให้กลืนไปกับสวนลิ้นจี่ที่กำลังออกผลพร้อมให้เก็บเกี่ยวในอีกไม่กี่วัน พี่สามารถ พลูเกตุ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านแก่งทรายมูล และในอีกฐานหนึ่งคือเป็นผู้ประกอบการรีสอร์ทในพื้นที่ท่าตอน พาเราย้อนกลับไปเมื่อ 7 ปีก่อน อาชีพตั้งต้นของพี่สามารถคือการประกอบกิจการจากซุ้มแพอาหาร ก่อนจะต่อยอดไปเป็นห้องพัก ร้านอาหาร รวมไปถึงสวนลิ้นจี่ในพื้นที่รวมกันประมาณ […]
‘เซาะกร่อน’ ใต้เกลียวคลื่นเศรษฐกิจพิเศษ
Reading Time: 3 minutesเซาะกร่อน (ก.) หมายถึงทำให้ร่อยหรอไปทีละน้อย ไม่แน่ว่าสุดท้ายอาจไม่เหลือพื้นที่การเติบโตของเศรษฐกิจฐานราก ไม่มีทรัพยากรที่สมบูรณ์ให้พึ่งพิง และอาจไม่เหลือวิถีชีวิตของผู้คนในภูมิภาคที่ลุ่มรวยด้วยฐานทรัพยากรอย่างภาคใต้ ไม่ใช่แค่นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ระนองและชุมพร เท่านั้น ในย่างก้าวของความเงียบ (ร่าง)พระราชบัญญัติเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) 4 ฉบับกำลังย่องเข้าเทียบท่าในรัฐสภา ภาพชีวิตของคนพื้นถิ่นถูกถ่ายทอดผ่านการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ปรากฏชัดในตัวอักษรของเล่มรายงาน Land Bridge Effect ผลกระทบโครงการท่าเรือน้ำลึกแลนด์บริจน์ชุมพร – ระนอง Play Read สัปดาห์นี้จึงต้องยอมรับแต่โดยดีว่า จะมีน้ำเสียงวิชาการหน่อย ๆ เพราะเห็นควรว่า ต้องหยิบตัวเลขที่น่าสนใจจากงานศึกษาในเล่มรายงาน Land Bridge Effect มาเล่าเคล้ากับบทสนทนาของชาวระนองที่ผู้เขียนมีโอกาสพบปะสนทนาเมื่อไม่กี่วันมานี้ อย่างน้อยก็คงจะช่วยขยายเป็นภาพอนาคตให้จิตนาการได้ชัดเจนขึ้น คลื่นทะเลเล็กน้อยสามารถออกเลได้สบาย ๆ 30-50 เดซิเบล ความดังของคลื่นกระทบฝั่งในยามปกติ กำลังสร้างงานสร้างรายได้ในทุกพื้นที่ที่คลื่นซัดถึง ทุกวันนี้การทำประมงพื้นบ้านก่อให้เกิดการจ้างงานในระดับครัวเรือนและชุมชน โดยประมงขนาดเล็กทั้งเรือหัวตัด เรือโทง เรือท้ายตัด ทำให้เกิดการจ้างงานราว 1-2 คนต่อเรือหนึ่งลำ มีรายได้เฉลี่ยคนละ 450-650 บาทต่อวัน จากการใช้ระยะเวลาทำงานเพียง 4-6 ชั่วโมง ผลการสำรวจของทีมวิจัยพบว่า […]
อัลกอริทึ่มของความรุนแรงทางเพศ ในโลกที่ ‘บิ๊กเทค’ มีอำนาจเทียบเท่า ‘รัฐ’ ใครเป็นผู้ขีดเส้นเสรีภาพ
Reading Time: 6 minutesนับตั้งแต่ปี 2566-2568 เกิดการเลือกตั้งทั้งเล็ก-ใหญ่ ในสนามการเมืองระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ รวมไปถึงประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน แต่ไม่ได้มีเพียงความคุกรุ่นทางการเมืองที่ร้อนแรงระหว่างการเลือกตั้ง แต่ยังพบว่าเกิดการใช้ความรุนแรงบนโลกออนไลน์ที่ยังเลือก ‘เพศ’ และหลังการเลือกตั้งมีแนวโน้มว่าความรุนแรงนี้ กลายเป็นเรื่อง ‘ปกติ’ ในโซเชียลมีเดีย
เส้นบาง ๆ ของการกำกับควบคุมและอำนาจที่ล้นมือรัฐและบริษัทเทคฯ ต้องสร้างสมดุลเพื่อมอบพื้นที่ปลอดภัยข้ามพรมแดนให้กับประชาชน เมื่อปัญหานี้ไม่ใช่แค่เรื่องของนักการเมืองหญิง แต่เกี่ยวกับความปลอดภัยบนโลกออนไลน์ของเราทุกคน
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
โลกเดือดทางสภาวะภูมิรัฐศาสตร์
Reading Time: < 1 minuteหากเอ่ยคำว่า “โลกเดือด” คนส่วนใหญ่อาจจะนึกถึงสภาวะที่อุณหภูมิโลกสูงขึ้นหรือร้อนขึ้นเรื่อยๆ โดยในปีที่แล้วและปีนี้ โกของเราถูกบันทึกว่า “ร้อนที่สุดเป็นประวัติการณ์” กระทั่งถึงจุดที่ส่งผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่งต่อการดำรงอยู่ของมนุษยชาติทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ระบบนิเวศ รวมถึงสุขภาพของมนุษย์ ผู้เชี่ยวชาญจำนวนมากรวมถึงองค์การสหประชาชาติจึงกล่าวว่า ณ ห้วงเวลาปัจจุบันถือว่ายุคโลกร้อนสิ้นสุดลงแล้ว และเรากำลังเดินหน้าเข้าสู่ยุคโลกเดือด (Global Boiling)
อำนาจ ศิลปะ และการมองเห็น
Reading Time: 2 minutesหากว่าการเมืองถูกสร้างภาพจำมาว่าคือความวุ่นวาย และศิลปะคือความบริสุทธิ์ที่คอยจรรโลงใจ ศิลปะและการเมือง 2 สิ่งนี้ควรแยกออกจากกันหรือเปล่า?
‘การเมืองทัศนา’ หนังสือที่เขียนโดย ผศ.ดร.บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง และดำรงตำแหน่งรองคณะบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จะพาเราย้อนกลับไป สำรวจอำนาจศิลปะที่ถูกใช้คู่ขนานไปกับการเมือง
สิทธิที่ไม่ได้ใช้ของ “เด็กพลัดถิ่น” ในศึกเลือกตั้งอบจ.
Reading Time: 3 minutesฟังเสียง “เด็กพลัดถิ่น” หรือผู้ที่เข้ามาหาโอกาสในเมืองหลวง ว่าสิทธิบนพื้นที่ใดที่พวกเขาควรถือครองเพื่อกำหนดชะตาชีวิต ระหว่างสิทธิตามถิ่นฐานบ้านเกิด หรือสิทธิตามพื้นที่อาศัย ผ่านการเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งนี้ และร่วมออกแบบกาเลือกตั้งในอนาคต ว่าทำอย่างไรถึงจะไม่ทอดทิ้งเด็กไกลบ้าน
MIX
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ช่องว่างทางดิจิทัล ความเหลื่อมล้ำสายพันธุ์ใหม่
Reading Time: < 1 minuteสังคมไทยไม่สามารถดำเนินไปบนสมมุติฐานว่าคนทุกคนหรือทุกกลุ่มมีความสามารถในการเข้าถึงโลกดิจิทัลในระดับเดียวกันอีกต่อไป เพราะการเพิกเฉยเท่ากับว่าสถาบันทางสังคมต่าง ๆ ไม่ว่าระบบการศึกษา การแข่งขันทางเศรษฐกิจ หรือตลาดแรงงาน จงใจที่จะให้แต้มต่อกับกลุ่มคนที่มีความได้เปรียบ
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ความฝันของผู้คนในประเทศรัฐสวัสดิการ ความเท่าเทียมไม่เคยมากเกินไป
Reading Time: < 1 minuteการสร้างสวัสดิการเพื่อประชาชนอย่างถ้วนหน้าในฐานะสิทธิ ไม่เกี่ยวกับงบประมาณหรือทรัพยากร ไม่เกี่ยวกับปลาไม่เกี่ยวกับเบ็ด แต่เกี่ยวกับว่าเราเชื่อว่าคนเท่ากันหรือไม่
อภิสิทธิ์ชนจะละอายในคำสัญญา
Reading Time: < 1 minuteสิ่งที่เราจำเป็นต้องทำก็คือไม่ต้องเป็นติ่ง ไม่ต้องแบก ไม่ต้องไปคิดถึงเรื่องยุทธศาสตร์อะไรต่าง ๆ แต่ให้พูดอย่างตรงไปตรงมาว่าเราต้องการอะไร ต้องการเมื่อไหร่
เส้นด้าย ปลายเข็ม และผ้าควิลท์ ‘ในนามของผู้หญิงนักปกป้องสิทธิชุมชน’ ที่ถูกคุกคาม
Reading Time: 3 minutesหลายต่อหลายครั้งการส่งเสียงเรียกร้องสิทธิของประชาชนนำพาไปสู่การถูกติดตาม จับตา จับจ้อง เรื่อยไปถึงการถูกจับกุมและตั้งข้อหา โดยหวังให้เสียงนั้น “แผ่วลง” นี่ไม่ใช่ความปกติธรรมดาแน่นอน และมันก็ไม่ใช่เรื่องปกติธรรมดาเช่นกันที่ “นักต่อสู้สิทธิ์” เหล่านั้นจะสามารถเล่าเรื่องราวการถูกคุกคามได้ง่าย ๆ ด้วยหลายครั้งเหตุการณ์สะเทือนใจ และน่าหวาดกลัวเกินกว่าจะถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดได้
ไม่ใช่แค่ลมใต้ปีกแต่ ‘เขา’ ลิขิตทิศทางไทย : ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี
Reading Time: < 1 minute‘ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี การเมืองไทยภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา 2491-2500’ คือ หนังสือที่ว่าด้วยเรื่องของการเมืองไทยในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หรือ ในยุคสงครามเย็นตอนต้น สำหรับการเมืองระดับโลกช่วงเวลานี้ถือเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนผ่านของโครงสร้างอำนาจจากจักรวรรดิอังกฤษ มาสู่ สหรัฐอเมริกา แต่สำหรับประเทศไทย โดยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ดี เหตุการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอำนาจภายในการเมืองไทยด้วยเช่นกัน