
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Human & Society
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
Human & Society
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Crack Politics
#เดินทะลุฟ้า จนเกิบ (เกือบ) ทะลุพื้น กว่าจะถึงกิโลเมตรที่ 247.5 เจ็บแต่ (ขอเดินจน) จบ
Reading Time: 2 minutes#เดินทะลุฟ้า จนเกิบ (เกือบ) ทะลุพื้น กว่าจะถึงกิโลเมตรที่ 247.5 เจ็บแต่ (ขอเดินจน) จบ
GRID • CARD
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ลมใต้ปีกบริษัทสัญชาติไทย ‘ไฟฟ้าล้น’ คน-เขื่อน-โขง ผลกระทบและการสูญเสียอธิปไตยไทย?
Reading Time: 3 minutesเราจำเป็นต้องมีไฟฟ้าจากเขื่อนจริงหรือ เมื่อพลังงานสะอาดเหล่านี้ อาจสร้างผลประโยชน์ในวงเล็ก แต่ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างและยังเกี่ยวโยงถึงบิลค่าไฟที่ขึ้นอย่างไม่มีแนวโน้มว่าจะลดลง
ศิลปะ-ไทย-เวลา อารยะสังคมคือที่ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงศิลปะได้
Reading Time: 3 minutesนิทรรศการเนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปี ของศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ได้เดินทางมาถึงประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2466 นับเป็นปีครบรอบสำคัญของวงการศิลปะไทย ที่ถือว่าท่านเป็นบิดาศิลปะสมัยใหม่ของประเทศไทย และเป็นผู้ริเริ่มการสร้างหอศิลปะสาธารณชนแห่งแรกของประเทศไทยคือ หอศิลป พีระศรี เพื่อให้เป็นสถาบันที่มีหน้าที่ในการขับเคลื่อนสังคมและศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
วาระแห่งความภาคภูมิในตัวเอง
Reading Time: 2 minutesประเทศเต็มไปด้วยคำตอบอันปราศจากคำถาม วีรพร นิติประภา มิถุนายนถูกถือว่าเป็นเดือน Pride หรือเดือนแห่งความภาคภูมิในตัวเองของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ซึ่งมีการจัดขบวนพาเหรดเดินและงานเฉลิมฉลองในหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย แต่น้อยคนจะรู้ว่างานนี้มีจุดเริ่มต้นมาจากการเรียกร้องทางการเมืองที่น่าสนใจมากครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ เรื่องทั้งหมดเริ่มจากเหตุการณ์ที่ถูกเรียกภายหลังว่า Stonewall Riots หรือจราจลสโตนวอลล์ ย่านกรีนนิชวิลเลจ ในนิวยอร์กซิตี้ วันที่ 28 เดือนมิถุนายน–3 กรกฎาคม ปี 1969 …กว่าครึ่งศตวรรษมาแล้ว การปะทะจราจลครั้งนี้ไม่ใช่ความขัดแย้งครั้งแรกระหว่างทางการอเมริกันกับกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ ในช่วงทศวรรษที่ 60s ก็มีการชุมนุมเรียกร้องของนักเคลื่อนไหว LGBT ตามหัวเมืองใหญ่ทั่วอเมริกามาตลอด พักนึกภาพตามสักนิดก่อน แรกเริ่มเดิมทีก่อนหน้าหลายพันปี การเป็นคนรักเพศเดียวกันได้รับการต่อต้านจากคริสตจักรมาตลอด ไม่เพียงแต่คนที่รักเพศเดียวกันจะถูกตราหน้าว่าเป็นคนบาป ในหลายประเทศนี่ยังเป็นเรื่องผิดกฎหมาย และมีโทษตั้งแต่จำคุกไปจนถึงประหารชีวิต (ปัจจุบันยังมีการลงโทษรุนแรงในหลายประเทศมุสลิมอยู่) จนมาถึงทศวรรษที่ 60s คนที่แสดงตัวเป็นเกย์ เลสเบี้ยน แดรกควีน ทอมบอยหรือข้ามเพศก็ยังถูกกีดกัน ทั้งโอกาสงาน การเช่าบ้าน กระทั่งการเข้าคลับ บาร์ สถานบันเทิงทั่วไป เรียกว่าเป็น ’คนนอก’ และไม่ได้รับการยอมรับจากสังคม ที่ที่คนเหล่านี้สามารถพบปะสังสรรค์กันจึงต้องเป็นบาร์เฉพาะ และบาร์เฉพาะหรือบาร์เกย์เหล่านี้ก็เป็นบาร์ใต้ดินหรือบาร์เถื่อนด้วย เนื่องจากไม่ได้รับสิทธิ์ให้จดทะเบียนดำเนินการอย่างถูกต้องตามกฎหมายมาแต่ต้น วนเป็นงูกินหาง …และบาร์สโตนวอลล์ อินที่ว่าก็เป็นหนึ่งในนั้น นิวยอร์กในเวลานั้นก็เป็นเมืองที่มีประชากรผู้มีความหลากหลายทางเพศอยู่จำนวนมาก และการที่ตำรวจจะบุกจับและปิดบาร์เถื่อนแบบนี้ก็เป็นเหตุประจำวันอยู่แล้ว ส่วนใหญ่ก็ด้วยข้อหาไม่มีใบอนุญาตขายสุรา แต่เที่ยงคืนวันที่ 28 มิถุนายนปีนั้นดูเหมือนตำรวจจะใช้ความรุนแรงกับบรรดาแขกของบาร์สโตนวอลล์เกินความจำเป็นไปสักหน่อย โดยมีการใช้กระบองตีผู้หญิงและหญิงข้ามเพศ แต่หลังจากจับคนหลายร้อยคนไปแล้ว เรื่องก็กลับไม่จบลงแค่นั้น มีผู้คนเริ่มเข้ามาชุมนุมรอบ ๆ บาร์เพิ่ม และเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จากหลักร้อยเป็นหลายพัน มีการเรียกร้องให้ผู้หลากหลายทางเพศเปิดเผยตัวตน และเข้าร่วมชุมนุม การประท้วงยืดเยื้อหลายวัน มีความรุนแรงน้อยใหญ่เกิดขึ้นประปราย และการประท้วงครั้งนั้นเป็นชนวนนำมาซึ่งการเดินขบวนประท้วงของกลุ่ม LGBT ทั่วประเทศอีกหลายครั้ง ซึ่งนำไปสู่การเรียกร้องการได้รับยอมรับในฐานะประชากรที่เท่าเทียมในทางกฎหมายทั่วอเมริกา และลามไปยังยุโรปกับประเทศอื่น ๆ ในเวลาต่อมา รายละเอียดเรื่องนี้สามารถหาอ่านได้ในวิกิพีเดียและเว็บต่าง ๆ ได้ แต่แก่นสารของเรื่องไม่ได้อยู่ที่จราจลที่นั่นวันนั้น หรือกระทั่งการต่อสู้ในเวลาต่อมา หากอยู่ที่การเปิดเผยตัวตนและปฏิเสธที่จะหลบซ่อนของคนที่มีความหลากหลายทางเพศต่างหาก และนั่นก็เป็นที่มาของคำว่าไพรด์ …การยอมรับตัวเองอย่างภาคภูมิ และหลังจากนั้นเมื่อมีการรำลึกถึงเหตุการณ์ในเวลาต่อมาจึงเรียกงานนี้ว่าไพรด์ จากคนไม่กี่คนที่มารวมตัวหน้าบาร์สโตนวอลล์ในปีถัดมา งานไพรด์ค่อย ๆ ขยายกลายมาเป็นพาเหรดประจำปีของคนนับหมื่นนับล้านตามเมืองต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อเฉลิมฉลองการเปิดเผยตัวตน เพื่อแสดงความภาคภูมิในตัวเอง เพื่อกระตุ้นให้ผู้คนมีชีวิตที่เป็นตัวเองและเลิกหลบซ่อนปิดบัง นับแต่นั้นการเป็นผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ LGBT […]
GRID • LIST • PAGINATION
โรคเลื่อน
Reading Time: 2 minutes6 โมงเช้า ณ ปลายเตียงของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง สายตาถูกจับจ้องไปที่ร่างคนบนเตียงผู้หลับใหลไม่ได้สติ ชีวิตที่มืดบอด ทว่าไม่ใช่เพราะดวงตา แต่เพราะ ‘โรคเลื่อน’
กุสุมรสจากดงกะเพรา
Reading Time: 4 minutesลองพลิกดูตำรากับข้าวเก่าๆ ราวครึ่งศตวรรษก่อน จะแทบไม่เห็นผัดกะเพราในสารบัญเล่มไหน อาจมีแทรกในเล่มที่ว่าด้วยกับแกล้มเหล้าเบียร์บ้าง แต่ก็มิได้ให้ความสำคัญอะไรเป็นพิเศษ ถ้าเป็นฉบับทางการหน่อย ตัวอย่างเช่น ตำรับอาหารวิทยาลัยในวัง เป็นไม่มีร่องรอยให้เห็นเอาเลย
เรียกได้ว่า ผัดกะเพรา หรือผัดพริกใบกะเพรานั้น ไม่ใช่อะไรที่สลักสำคัญในช่วงสักสามสิบสี่สิบปีก่อนหน้านี้
‘เกิดบนเรือนมลายู’ เสน่ห์ที่แตกต่างในความธรรมดาสามัญ
Reading Time: 2 minutesตลอด 20 ปีที่ภาพของดินแดนปตานีผูกติดกับความรุนแรง กรอบหลักที่ทำให้ ‘มลายู’ ถูกกลบจนเลือนลาง ฟังเสียงจาก “เกิดบนเรือนมลายู” ในวันแสนธรรมดาของสามจังหวัด
สืบสำนวนอาชญากรรมสิ่งแวดล้อม ถอดหน้า ‘กาก’ อำพรางพิษใต้พรมอุตสาหกรรม
Reading Time: 5 minutesถอดหน้า ‘กาก’ กับคำตอบของหน่วยงานภาครัฐที่ยังมีคำถามกับหลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในวงเสวนา “อาชญากรรม สิ่งแวดล้อม โจทย์ท้าทายที่สังคมไทยต้องรับมือให้ได้” โจทย์ใหญ่ที่ยังคาราคาซังในสังคมไทยและต้องหาทางกันมากกว่ารอแก้ และโจทย์ใหม่ที่จะทำให้ประชาชนไม่ได้เป็นเพียงผู้ชนะคดีศาลแต่ยังไม่ได้รับการเยียวยา
สังคมที่แตกร้าว สัญญาณอันตรายของการเมืองอเมริกา
Reading Time: < 1 minuteการลอบสังหารนักการเมืองเป็นความรุนแรงที่เลวร้าย แต่มิใช่สิ่งแปลกใหม่ในสังคมการเมืองอเมริกัน ที่ผ่านมาเคยมีประธานาธิบดีถูกลอบสังหารจนถึงแก่ชีวิตแล้ว 4 ราย (อับราฮัม ลินคอล์น, จอห์น เอฟ เคนเนดี ฯลฯ) ไม่นับรวมอดีตประธานิบดีอีกหลายรายที่ตกเป็นเป้าหมายของความพยายามลอบสังหารทว่ารอดชีวิตมาได้ เหตุการณ์ความรุนแรงในวันที่ 17 ก.ค. ไม่ใช่เรื่องที่เหนือการคาดการณ์ในบรรยากาศที่สังคมอเมริกาแตกแยกอย่างรุนแรงที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์
เกลียวคลื่นและกระแสลมแห่งการเปลี่ยนแปลงยังเดินทางมาไม่ถึงเรา
Reading Time: < 1 minuteบทกวีเชิงสารคดี ‘เกลียวคลื่นและกระแสลมแห่งการเปลี่ยนแปลงยังเดินทางมาไม่ถึงเรา’ โดย โรสนี นุรฟารีดา เมื่อลมพัดพาให้เราไปที่ที่ไม่เคยนึกจะมา และลมก็พัดพาไปที่ที่เราไม่เคยคิดจะไปเหมือนกัน
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เด็กกลัวความมืด ผู้ใหญ่กลัวแสงสว่าง
Reading Time: < 1 minuteในสังคมเรามีผู้ใหญ่จำนวนมากที่เติบโตแล้ว พวกเขายังหวาดกลัวต่อแสงสว่าง ยังสมัครใจคุ้นชินกับความมืด และพยายามที่สร้างให้แสงสว่างเป็นเรื่องน่ากลัว ข้อถกเถียงระหว่างเด็กที่กลัวความมืดกับผู้ใหญ่ที่กลัวแสงสว่าง เป็นความขัดแย้งทางความคิดที่เกิดขึ้นทุกยุคสมัย และบ่อยครั้งเองความขัดแย้งที่ไม่คลี่คลายนี้ ก็ทำให้สังคมไม่สามารถก้าวไปข้างหน้าได้
เดซิเบลของการแจ้งเตือน วิกฤติหลังไซเรนเที่ยงคืน เสียงเตือนว่าเรา ‘ไม่วางแผนรับมือ’ แบบวันนี้ไม่ได้แล้ว
Reading Time: 4 minutesถ้าการเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติเป็นเหมือนกับบทละครหรือ ‘ซีเนริโอ’ ประชาชนที่เป็นผู้เล่น ควรมีโอกาสได้ออกแบบ และเข้าไปมีบทบาทในเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติให้เสร็จสมบูรณ์ เมื่อเกิดภัยแล้ว จะไม่นำไปสู่การตั้งคำถามของประชาชนว่าควรทำอย่างไรต่อ หรือรู้ภัยที่กำลังมา แต่ไม่มีแผนรองรับในช่วงเวลาการเกิดภัย
ไม่อยากเป็นแค่ ‘ผู้ปรับตัวที่ดี’ เด็กจบใหม่อยู่ตรงไหนของการจ้างงาน ‘เงินกู้ 4 แสนล้าน’
Reading Time: 3 minutes‘ผู้ปรับตัวที่ดี’ เราชอบคำนี้ ฟังดูมีพลังบวก ให้พลัง (empower) สามารถอยู่รอด และไปต่อได้ในทุก ๆ สถานการณ์ แต่ ‘ผู้ปรับตัวที่ดี’ ในความหมายของ คณิน ฉินเฉิดฉาย นิสิตปีสุดท้ายของคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วัย 22 ปี ที่เราได้คุยนั้นแตกต่างไป มันมีความหมายถึงการ “จำยอม” ต่อโครงสร้างสังคมและเศรษฐกิจที่ไม่ได้เอื้ออวยคนรุ่นใหม่เท่าไหร่นัก ผลักการปรับตัวเป็นหน้าที่…ที่ดี และเป็นที่ของใครของมัน โดยเฉพาะการหางาน และความมั่นคงในชีวิต
MIX
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
รัตนโกสินทร์แห่งชีวิต
Reading Time: < 1 minuteไม่มีที่ไหนในโลกเสมอเสมือนกรุงเทพมหานคร กรุงเทพฯเป็นทั้งเมืองศักดิ์สิทธ์และเมืองบาป เป็นเมืองหลวงของศิลปะวัฒนธรรมและที่สุดของความไร้รสนิยม ทั้งรโหฐานและคับแคบ ฟุ้งเฟ้อและกระเหม็ดกระแหม่ อิสระเสรีและจำกัด ทะเยอทะยานและสิ้นหวัง เจิดจ้าและซอมซ่อ
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงเรียกว่า ‘รัก’ ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteบทกวี ‘ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเรียกว่ารักไม่ได้’ ที่ชวนให้เว้นวรรคให้สี่ห้องหัวใจได้สำนึกผิดบ้าง จะบากหน้าไปกล่าวสุนทรพจน์สันติภาพต่อหน้าประชาคมโลกได้อย่างไร ในเมื่อกระเพาะอาหารของประชาชนยังทำสงครามกับน้ำย่อยไม่รู้จบ
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
บันทึกจาก นร.เตรียมอุดมฯ การมาถึงทุ่งสังหาร ‘6 ตุลา’
Reading Time: 4 minutesเรื่องราวภาคต่อ บทบันทึกของ พันธ์สิริ วินิจจะกูล เรื่องราวและที่มาของ 6 ตุลาคม 2519
พิมพ์เขียว PDP 2024 ยังเขียวไม่พอ?
Reading Time: 3 minutesค่าไฟหนนี้มีรอบบิลที่แพงขึ้นและประชาชนกำลังจนลงกับแผนPDP2024 แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า พ.ศ.2567 -2580 ที่กำลังจะเป็นแผนบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าแผนใหม่ในอีกไม่กี่เร็ววันข้างหน้าได้อย่างชัดเจมแจ่มแจ้ง ยังเต็มไปด้วยเสียงคัดค้านจากภาควิชาการและภาคประชาชนว่าไม่ตอบโจทย์ต่อความยั่งยืน
ข้าวโพดนายทุน ฝุ่นข้ามแดนในภาวะสงครามเมียนมา
Reading Time: 4 minutesกว่าทศวรรษแห่งคำถามบนแปลงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ตัวเลขส่งออกและพื้นที่ปลูกที่โตต่อเนื่อง สวนทางกับรายได้เกษตรกรบนน่านน้ำสีน้ำตาล และไฟสงครามที่เต็มไปด้วย ‘หนี้’
ภูฐานที่คุณยังไม่รู้จัก … จากมุมมองของผู้หญิงภูฏาน
Reading Time: 2 minutesห้วงเวลาของผู้หญิงภูฏานในวันที่โลกมีแค่ขาวกับดำ หน้าที่ของหญิงสาวมีแค่ทำงานบ้านกับทำสวน และการต่อสู้ของหญิงสาวภูฐานที่ถูกจารึกไว้บนเทือกเขาหิมาลัย