
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Human & Society
ท้องฟ้าจะขานชื่อเรา
Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 20 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ห้องเช่าราคาแพงและการจองจำอิสรภาพ
Reading Time: 2 minutesเขาเช่าห้องหมายเลข 112 อยู่ 8 เดือน ก่อนใช้หลักทรัพย์ 100,000 บาท ประกันตัวออกมาสู้คดี กว่า 4 ปี ประจักษ์ชัยวนเวียนขึ้นศาล เดินทางไกลจากศรีสะเกษเข้าเมืองเทพสร้าง แต่สุดท้าย 4 ปีมันนานเกินไป อาการป่วยโรคตับของเขารอไม่ไหว เขาจากไปก่อนได้ฟังคำพิพากษา วันคืนในห้องเช่ากัดกินชีวิตของผู้คน แม้ในวันสุดท้ายสู้จนตายแต่ก็ยังไม่ได้อิสรภาพคืนมา
โลกของคนตาบอดจำเป็นต้องมีเสียงบรรยายภาพ (เสียง)สะท้อนสิทธิพลเมือง
Reading Time: 3 minutesอมีนา มีความบกพร่องทางการเห็นแบบที่เรียกว่าสายตาเลือนราง หนึ่งในรูปแบบของความพิการทางสายตาที่มีตั้งแต่ยังพอมองเห็นบ้างไปจนถึงบอดสนิท ก่อนหน้านี้เธอยังพอมองเห็นสีและรูปทรงอยู่บ้าง ปัจจุบันเธออายุเข้าสามสิบปลายและเห็นเพียงเค้าโครงอย่างเลือนราง
TOMORROW IS NOW อนาคตอยู่ในม็อบ ?
Reading Time: 2 minutesถ้าเราไม่ออกมาในวันนี้ อนาคตเราจะไปในทางไหน ในเมื่อเส้นทางไปข้างหน้ายังเต็มไปด้วยปัญหา ความชัดเจนคือการออกมาเรียกร้อง สิทธิ และเสรีภาพ ที่เราควรมีเพื่ออนาคตที่ดีและมีทางออกของประเทศในวันข้างหน้า เสียงสะท้อนส่วนหนึ่งจากคนรุ่นใหม่ที่แสดงออกเพื่อกู้อนาคตของตัวเองกลับมา
GRID • LIST • PAGINATION
หมอลำ เป็น จน ตาย เพราะรักหรือไร้หลักประกันในชีวิตแรงงานนอกระบบ
Reading Time: 3 minutesชีวิตบนเส้นทางความฝันสู่ความจริง เมื่อชุดเพชรแวววาวที่สวมใส่ล้อกับแสงไฟจากเวทีเพื่อให้ตัวนักแสดงเปล่งประกายท่ามกลางผู้ชมที่คอยเฝ้ามองข้างล่างเวทีนั้นกลับหนักอึ้งและถ่วงรั้ง เมื่อความสามารถการลำไม่ใช่แค่สิ่งเดียวที่การันตีถึงชีวิตที่มั่นคง
Nature-based Solutions กลยุทธ์พลิกฟื้นโลก
Reading Time: 2 minutesท่ามกลางวิกฤตการณ์ที่โลกกำลังเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติที่ทวีความรุนแรง การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ไปจนถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม หลายฝ่ายต่างตระหนักดีว่า ถึงเวลาแล้วที่เราต้องหันมาทบทวนวิธีคิด และแนวทางการแก้ปัญหา ที่กำลังสั่นคลอนความมั่นคงในการดำรงอยู่ของมวลมนุษยชาติอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน
มิโล แมวน้อยกระโดดไม่เป็น
Reading Time: 3 minutesในบรรดาสิ่งมีชีวิตที่นอกเหนือจากมนุษย์ แมวเป็นสัตว์ที่แสนพิเศษ หรือพูดให้ตรงกว่านั้นก็คือไม่ใช่แมวประเภทจรจัดทั่วไป แต่เป็นบรรดาแมวที่มีเจ้าของทั้งหลาย เพราะมันจะถูกประเคนทั้งอาหารที่แสนอร่อย และที่อยู่อาศัยที่แสนสบาย โดยพื้นฐานทางธรรมชาติของสัตว์ที่ถูกออกแบบให้เป็นผู้ล่าและผู้ถูกล่า
แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 2]
Reading Time: 3 minutesคนทำงาน ฉัตรชัย พุ่มพวง สายธารการลุกขึ้นสู้และชัยชนะของขบวนแรงงานในสังคมไทย ในยุคต้นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หลังจากที่ ร.5 รวบอำนาจจากเหล่าเจ้าขุนมูลนายทั่วอาณาบริเวณที่เหลือเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งฝรั่งเศสทั้งอังกฤษได้สำเร็จ ก่อเกิดเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นเป็นครั้งแรก พร้อมกันนั้นได้มีการยกเลิกระบบไพร่ทาสไป เนื่องจากมีแรงงานจีนอพยพได้หลั่งไหลเข้ามาในสยามจำนวนมากตั้งแต่สมัย ร.4 ทำให้ต้นทุนของระบบไพร่ทาส เริ่มที่จะแพงและไร้ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับแรงงานรับจ้างอย่างแรงงานจีน มีการปฏิรูประบบภาษีให้รวมศูนย์มาที่กษัตริย์โดยให้ทุกคนจ่ายภาษีแทนการเรียกเกณฑ์แรงงานบังคับ เมื่อสัดส่วนของแรงงานจีนในสังคมสยามมีมากขึ้น ๆ ปัญหาเรื่องสภาพการทำงานที่ย่ำแย่ จึงเข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ปกติแล้ว เมื่อคนจีนอพยพไปอยู่ที่ไหนในโลก ก็จะมีการพยายามรวมกลุ่มกัน เป็นที่มาของคำว่า “อั้งยี่” ที่เป็นคำใช้เรียกองค์กรของแรงงานจีน ซึ่งจริง ๆ แล้วทำหน้าที่คล้ายกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อรองกับรัฐและทุนนั่นเอง กุลีจีนเหล่านี้เป็นแรงงานกลุ่มแรก ๆ ที่สไตร์คหยุดงานในสยาม ไม่ว่าจะเป็นแรงงานจีนในเหมืองที่ภาคใต้ หรือ กุลีลากรถและกรรมกรแบกข้าวสารในพระนคร ช่วงแรกรัฐบาลสมบูรณาฯ ก็รู้สึกสะดวกในการดีลกับผู้นำของอั้งยี่ทำให้ควบคุมจัดการพวกแรงงานจีนทำได้ง่าย แต่พอนานไปเข้าก็รู้สึกได้ถึงอำนาจต่อรองที่มากเกินไป เพราะมีเหตุการณ์ที่แรงงานจีนเหล่านี้สไตร์คหยุดงาน จึงทำให้ต้องออกกฎหมายอั้งยี่ซ่องโจรออกมา เพื่อกดปราบแรงงานจีนเหล่านี้ เมื่อเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรในปี 2475 ขบวนแรงงานในสังคมไทยก็เติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ บางยุครวมตัวกันได้อย่างแข็งขัน บางยุคถูกฝั่งรัฐและทุนโต้กลับกดปราบ โดยเฉพาะยุคเผด็จการสฤษดิ์ ถนอม ประภาส ที่มีการใช้มาตรา 17 ประหารสุภชัย ศรีสติ ผู้นำแรงงาน […]
แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 1]
Reading Time: 3 minutesตลอดประวัติศาสตร์ของมนุษย์มีตัวอย่างเหตุการณ์นัดหยุดงานประท้วงที่น่าสนใจหลายเหตุการณ์เราจะไล่เรียงกันตั้งแต่อียิปต์, โรมัน, สเปน, เดนมาร์ก และมาจบที่ไทย สุสานจะศักดิ์สิทธิ์ หรือยิ่งใหญ่แค่ไหน ก็ไม่พ้นมันสมองและสองมือของคนงาน
ต่างจังหวัด : อำนาจและการควบคุม
Reading Time: 2 minutesท้องถิ่นจะถูกมองให้เป็นอะไรที่หยุดนิ่ง ทั้งที่จริง ๆ แล้วในท้องถิ่นแต่ละพื้นที่ก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา หากมีการกระจายอำนาจก็จะทำให้แต่ละพื้นที่สามารถดูแล จัดการ บริหารแต่ละภาคส่วนด้วยตนเองได้
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ไม่รัก (ไม่ต้อง) ระวังติดคุกนะ: คุยกับคนรุ่นใหม่ในยุโรปเรื่องราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญ
Reading Time: 6 minutesชวนทำความรู้จัก “ความเป็นสากล” ของราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญหรือ Constitutional Monarchy ในประเทศประชาธิไตยในทวีปยุโรป ผ่านการสนทนากับคนรุ่นใหม่ที่เติบโตและใช้ชีวิตในประเทศเดนมาร์ก ลักเซมเบิร์ก อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ และสเปน ว่าชีวิตของพวกเขาในสังคมประชาธิปไตยที่ก็มีกษัตริย์เป็นประมุขนั้นดำเนินไปอย่างไร ในขณะที่ชีวิตของคนรุ่นใหม่ไทยต้องเผชิญกับการถูกตั้งข้อหาด้วยมาตรา 112 กันแบบไม่เว้นแต่ละวัน
‘คืนสิทธิ์ให้คน คืนชีวิตให้ป่า’ เสียงจากป่าลึกในวันที่ความเป็นธรรมยังมาไม่ถึง
Reading Time: 5 minutes4,020 ชุมชนในพื้นที่กว่า 4,200,000 ไร่ คือตัวเลขของ ‘วิถีชีวิต’ ที่ดำเนินอยู่ในป่า
แม้หลายชุมชนจะใช้ประโยชน์ที่ดินบนพื้นที่ป่ามาตั้งแต่ยุคสมัยของบรรพบุรุษ
Father & Son แค่อยากให้ชีวิตดีกว่านี้
Reading Time: 2 minutesหลายครั้งเมื่อได้นึกถึงพ่อลูกคู่นี้ เพลง Father & Son ของ Cat Stevens ลอยมาแต่ไกล มันให้อารมณ์คล้ายเป็น Soundtrack ประกอบเรื่องราวของชีวิตคู่นี้ เสียงStrumกีต้าร์โปร่ง กับเสียงทุ้มในบางท่อนแทนคำพร่ำบ่นของพ่อ เสียงที่สูงในบางท่อนที่แทนเสียงตัดพ้อต่อว่าของลูกชาย ถึงแม้เนื้อหาของเพลงจะไม่ได้สอดคล้องอะไรนักกับชีวิตคนทั้งสอง แต่ไม่รู้ทำไมสมองผมถึงพยายามจัดยัด 2 สิ่งนี้ให้เข้ากันให้ได้
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
นิติรัฐ (ที่หายไป) ในสังคมไทย
Reading Time: 3 minutesเหตุการณ์ความสับสนและผันผวนทางการเมืองในสังคมไทยในห้วงยามที่ผ่านมาทำให้ผู้เขียนขบคิดถึงปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมาย การเมือง กับสังคม และอำนาจของกฎหมายที่ส่งผลกระทบต่อการเมืองและชีวิตของผู้คนมากยิ่งขึ้น ซึ่งการบังคับใช้และการตีความกฎหมายที่ถูกตั้งคำถามรวมถึงบทบาทของฝ่ายตุลาการที่ถูกตั้งข้อสงสัยจากสาธารณชนเกี่ยวพันกับปัญหาที่ใหญ่กว่านั้น คือ ปัญหาว่าด้วย(การขาด)หลักนิติรัฐในสังคมไทย ซึ่งเป็นปมปัญหาใหญ่ที่สุดประการหนึ่งที่สังคมไทยกำลังเผชิญในปัจจุบัน
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เริงระบำบนน้ำเดือด รักและเซ็กส์ในพรมแดนของแอปหาคู่
Reading Time: 3 minutesคุยเรื่องรัก หาคู่นอนผ่านมุมมองของคนรุ่นใหม่ พรมแดน และดินแดนเซ็กส์ ความรัก ความสัมพันธ์หน้าตาแบบไหน
ภัยพิบัติควบคุมบ่ได้ แต่จัดการได้ Better Practice ของวารินชำราบบ้านเฮา
Reading Time: 6 minutesการรับมือภัยพิบัติของวารินชำราบจะมีประชาชนเป็นด้านหน้าก็จริง แต่รัฐเป็นหน่วยสนับสนุนที่รับฟัง และลงมาทำข้อมูลร่วมกับประชาชน ความร่วมมือนี้จะไม่เกิดขึ้นหากเรายังฟังเสียงกันและกันในพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติกันมากพอ และมันอาจไม่ใช่ใครต้องเป็นคนนำหรือคนตาม หัวใจสำคัญของการก้าวข้ามภัยพิบัติคือแต่ละฝ่ายรู้หน้าที่ของตัวเองว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไรเมื่อภัยมา
เก้าอี้ดนตรี: การแข่งขันอันมืดบอด
Reading Time: < 1 minuteโลกสมัยใหม่ต้องการอะไร? เมื่อสังคมของเรามันก็เป็นแบบนี้มานานแล้ว…คุณปลอบ ใคร ๆ ก็บอกอย่างนั้น โลกที่มีเก้าอี้มากมายเหลือเกินที่ต้องแย่งชิง
ปลุกผี ‘ชาตินิยม’ ย้อนดูบทเรียนปัญหาสามจังหวัดชายแดนใต้
Reading Time: 3 minutesขยายประเด็น นวลน้อย ธรรมเสถียร ปฏิกิริยาต่อปัญหาชายแดนไทยกับกัมพูชาหนนี้ ทำให้เห็นชัดอย่างหนึ่งว่า กระแสชาตินิยมไทยนั้นปลุกได้ง่ายมาก เราได้เห็นท่วงทำนองชาตินิยมที่ประกอบไปด้วยการทวงบุญทวงคุณ การตำหนิว่า เขมรแอบอ้างสมบัติ หรือมรดกทางวัฒนธรรม การปลุกประเด็นทวงคืนพื้นที่บางแห่ง การสนับสนุนการใช้กำลังตัดสินปัญหา และแน่นอนว่าเราได้เห็นความพยายามที่จะทำให้เสียงที่ “เห็นต่าง” เงียบลง บางทีด้วยการข่มขู่ บางครั้งด้วยความหยาบคาย ด้วยเฮทสปีชที่กำลังกลายเป็นความเคยชินของผู้ใช้โซเชียลไปแล้ว ชาตินิยมอาจมีข้อดีในยามที่ต้องการการรวมพลังสู้ภัยคุกคาม แต่ถ้าไม่ระวังและปล่อยเลยเถิดมันก็อาจจะกลายเป็นภัยที่กัดกินตัวเอง ยังไม่นับว่ามันอาจทำลายโอกาสในการหาทางออกต่อความขัดแย้งแบบสันติ ผู้เขียนอยากจะเล่าเรื่องของชาตินิยมกับผลกระทบที่ฝากเอาไว้อย่างยาวนานในเรื่องหนึ่ง นั่นคือผลของการใช้แนวทางชาตินิยมที่มีส่วนอย่างสำคัญต่อปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ชาตินิยมที่จับต้องได้ง่ายสำหรับเรา ๆ ท่าน ๆ คือผ่านเสียงเพลง หลายคนคงได้ยินเพลงเก่าที่นำมาร้องกันใหม่หลายเวอร์ชันอย่างเพลง “บ้านเกิดเมืองนอน” เพลงนี้อยู่ในกลุ่มเพลงปลุกใจที่เกิดขึ้นในช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่สองภายใต้อิทธิพลของกระแสชาตินิยมในยุคที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีครั้งแรก เพลงนี้เป็นเพลงของคณะสุนทราภรณ์ซึ่งแปลงร่างมาจากวงโฆษณาการและทำหน้าที่ช่วยแปลงสารด้านนโยบายไปสู่การปลุกใจให้พลเรือนนำไปปฏิบัติตาม “บ้านเกิดเมืองนอน” เป็นเพลงที่ชนะการประกวดเพลงปลุกใจในปี 2488 เนื้อเพลงเรียกเร้าความภาคภูมิใจตั้งแต่คำแรก ๆ “บ้านเมืองเรารุ่งเรืองพร้อมอยู่หมู่เหล่า พวกเราล้วนพงษ์เผ่าศิวิไลซ์ เพราะฉะนั้นชวนกันยินดี เปรมปรีดีใจเรียกตนว่าไทย แดนดินผืนใหญ่มิใช่ทาสเขา” “ก่อนนี้มีเขตแดนนับว่ากว้างใหญ่ ได้ไว้พลีเลือดเนื้อแลกเอา รบ รบ รบ ไม่หวั่นใคร มอบความเป็นไทยให้พวกเรา แต่ครั้งนานกาลเก่าชาติเราเขาเรียกชาติไทย……” ต้องขีดเส้นใต้คำว่า คนไทยเป็น […]