
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Crack Politics
ประวัติศาสตร์ของการลอยนวลพ้นผิด
Reading Time: < 1 minuteการลอยนวลพ้นผิดถูกสร้างขึ้นมาจนกลายเป็นวัฒนธรรมของรัฐไทยอย่างไร ไล่เรียงมาตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนมาถึงการรัฐประหาร 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติซึ่งในช่วงหลังสงครามโลกที่เต็มไปด้วยความไร้เสถียรภาพทางการเมือง จบลงด้วยการทำรัฐประหารของกองทัพในปี 2490 และการก่อตัวของระบอบอำนาจนิยมในสังคมไทย รัฐบาลทหารของจอมพล ป. ที่ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มการเมืองอนุรักษ์นิยมในขณะนั้นใช้ความรุนแรงหลากหลายรูปแบบในการขจัดผู้ที่เห็นต่างจากรัฐ ไม่ว่าจะเป็นการอุ้มหาย การลอบสังหาร การซ้อมทรมาน กลายเป็นแบบแผนของการใช้ความรุนแรงนอกกฎหมาย ที่รัฐแปลงตนเองจากการเป็นผู้ปกป้องคุ้มครองประชาชนกลายไปเป็นผู้ที่ใช้กำลังข่มขู่คุกคามและสังหารประชาชนเสียเอง
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
‘ปาตานี’ ในสายตาคนรุ่นหลัง ยังมีไหม ‘ความหวัง’ แห่งสันติภาพ
Reading Time: 3 minutesคำว่า “ปาตานี” และ “เอกราช” ไม่ใช่คำที่ใส่เข้ามาอย่างไม่มีต้นสายปลายเหตุ คำทั้งสองเกิดจากความเข้าใจความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และความเข้าใจต่อปัญหาในพื้นที่ปัจจุบันของอีแป็งและเพื่อน บทสนทนานี้อาจจะช่วยให้เข้าใจเจตนาของพวกเขาได้บ้าง โดยตลอดทั้งบทความ (รวมถึงชื่อบทความ) จะขอเรียกพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ว่า “พื้นที่ปาตานี” เพื่อให้สื่อสาร “เสียง” ของคู่สนทนาออกมาได้อย่างชัดเจนที่สุด
‘ไรเดอร์’ สองล้อที่บิดเบี้ยวของอาชีพแห่งอนาคต
Reading Time: 3 minutes‘รายได้ดี มีอิสระ ออกแบบการทำงานได้ด้วยตัวคุณเอง’ คือ 3 คียเวิร์ดหลักของอาชีพที่มาแรงที่สุดแห่งยุค อย่างอาชีพ ‘ไรเดอร์’ หรือ พนักงานรับส่งสินค้าด้วยรถจักรยานยนต์ จากจุดเริ่มต้นที่ใครหลายคนใช้เป็นอาชีพเสริมเพื่อหารายได้พิเศษ มาวันนี้ด้วยพิษเศรษฐกิจที่ไม่มีทีท่าว่าจะดีขึ้น ซ้ำเติมไปด้วยการเข้ามาของโควิดดิสรัปชั่น ส่งผลให้อาชีพไรเดอร์กลายมาเป็นอาชีพหลักของแรงงานยุค 2020
7 ความเห็นร่วมสมัยกับประเด็น #ทำแท้งปลอดภัย
Reading Time: 3 minutes“กฎหมายนี้ส่งผลต่อประชาชนทุกคน ไม่ใช่เพศใดเพศหนึ่ง” – แม้การทำแท้งจะเป็นสิทธิทางร่างกายของผู้ตั้งครรภ์ แต่เสียงวิพากย์วิจารณ์จากสังคมที่กระพือขึ้นมาใหม่ทุกครั้งเมื่อมีการพูดถึงการยุติการตั้งครรภ์ปลอดภัยกำลังพยายามบอกอะไรกับผู้สนับสนุนข้อกฎหมายนี้กันแน่
GRID • LIST • PAGINATION
นักสู้เพื่อผืนดินแห่งชีวิตของคนจน ถ้าสักวัน ‘ที่ดินตรงนั้นจะเป็นของเราจริง ๆ’
Reading Time: 3 minutesการต่อสู้ของคนจนต่ออำนาจรัฐและทุนมากว่า 20 ปี และยังไม่มีทีท่าว่าพวกเขาจะได้รับสิทธิ์ในที่ดินเหล่านั้นในเร็ววัน จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้สรารัตน์และคนอื่นๆ ต้องเดินทางมาเรียกร้องต่อรัฐบาลในทุกยุคทุกสมัย เพื่อหวังว่าในวันใดวันหนึ่งพวกเขาจะมีผืนดินในการทำมาหากินและอยู่อาศัย ได้อย่างไม่ต้องหวาดกลัวว่าใครจะมาขับไล่และดำเนินคดี เพื่อเอาที่ดินผืนสุดท้ายของพวกเขาไป
บางที “เราต้องการมากกว่าความรัก”
Reading Time: 2 minutes“หัวใจของเสรีภาพส่วนบุคคลอยู่ที่อิสรภาพในการเลือกว่าเราเป็นใคร รักใครที่เราปรารถนา และใช้ชีวิตที่ซื่อสัตย์ต่อตัวตนที่แท้จริงที่สุดของเรา” การดำรงไว้ซึ่งเสรีภาพนี้ต้องเป็นไปโดยไม่เพียงแต่ “ปราศจากความกลัวอันมาจากการกลั่นแกล้งเท่านั้น” หากแต่ยังต้องยินดีอย่างสุดหัวใจที่จะมองชาว LGBTQ+ ในฐานะ “พลเมืองที่มีความเสมอภาคของประเทศนี้” ก่อนจะพูดต่อว่า กรณีคำพิพากษาในปี ค.ศ. 2018 จะเกิดผลดีกว่านี้ ก็เมื่อชาวอินเดียทุกคนเปลี่ยนแปลงใจของตนที่จะมองชาว LGBTQ+ เสียใหม่
50 ปีที่ ‘ยุ่งเหยิง ไม่ใช่อย่างงดงาม’ ความทรงจำ ’14 ตุลา’ ของสินธุ์สวัสดิ์ ยอดบางเตย
Reading Time: 3 minutesได้อ่านมา สำหรับบางคน 14 ตุลาฯ คือวาระแห่งมหาปีติที่ประชาชนสามารถโค่นล้มเผด็จการได้ แต่บางคนก็ว่า 14 ตุลาฯ ไม่ใช่ชัยชนะของประชาชนอย่างแท้จริง เพราะหลังจากนั้นเพียง 3 ปี ประชาชนต้องนอนจมกองเลือดในวันที่ 6 ตุลาฯ ซ้ำร้าย! ทหารที่คิดว่าจะออกจากเวทีการเมืองไปแล้วก็หวนคืนมาอีกครั้งโดยการรัฐประหาร
รุ่นก่อนอยู่ป่า รุ่นนี้อยู่อย่างโดดเดี่ยว ความฝันที่ถูกช่วงชิงไปจากเบสท์-วรรจธนภูมิ
Reading Time: 2 minutesสายธารของประชาธิปไตยไม่เคยหยุดนิ่ง จากคนเดือนตุลาสู่แร็ปเปอร์คลองเตย พละกำลังทางจิตใจได้หล่นหายไป และ ‘ความโดดเดี่ยว’กลายเป็นสิ่งที่นักเคลื่อนไหวเหล่านี้ต้องเผชญ
เขื่อน vs ป่า พื้นที่มรดกโลกจากเขียวสู่แดง
Reading Time: 3 minutesเมื่อ เขื่อนและอ่างเก็บน้ำ คือทางออกขาดแคลนน้ำในอนาคต แต่เป็นภัยคุกคามมรดกโลกที่ประเทศไทยต้องเผชิญ ชวนทำความเข้าใจสถานการณ์ ค้นหาแนวทางจัดการพื้นที่มรดกโลกที่อาจได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ
ซอฟต์พาวเวอร์ในบรรพกาล
Reading Time: < 1 minuteพอเห็นรัฐบาลที่ผ่านมาและรัฐบาลนี้ออกอาการตื่นซอฟต์พาวเวอร์กันอย่างหนักก็เลยพานนึกถึงเรื่องนี้ขึ้นมา และชวนคุยเล่นว่าอะไรเหล่านี้ไม่ได้เป็นเรื่องใหม่ ว๊าวแต่อย่างใด
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
รุ่งอรุณของคอซอง กระโปรงบานบนจุดนัดพบซอย‘นมสด’ GIRLS! Let’s speak out! เปล่งเสียง! ปลุกการเมืองให้ตื่นขึ้น เดบิวต์ครูในศตวรรษที่ 21
Reading Time: 4 minutesอาจจะถึงเวลาแล้วที่เราทั้งสังคมต้องตั้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น ว่าภายใต้ดีกรีความโกรธที่ทะลุปรอทแตกของนักเรียนไทย แท้จริงแล้วพวกเขากำลังเผชิญหน้ากับสิ่งใดในพื้นที่(เคย)ปลอดภัยอย่างโรงเรียน Decode เดินทางไปยังโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อพูดคุยกับ เอ๋-วารุณี ทองอุ่น ผู้ก่อตั้งกลุ่ม บร.ไม่ง้อเผด็จการ หนึ่งในแนวร่วมกลุ่ม sisterhood ที่ขับเคลื่อนประเด็นสิทธิเสรีภาพของนักเรียนหญิงและกลุ่ม LGBTQI เอ๋ย้อนให้เราฟังถึงอะไรคือสิ่งที่ ‘นักเรียนหญิงไทย’ รวมไปถึง ‘ลูกสาวไทย’ ในวันนี้ต้องเจอ และความโกรธจากการโดนละเมิดสิทธิ์จุดประกายอะไรในตัวพวกเธอ พร้อมทั้งมองไปหาอนาคตที่รอบนี้พวกเธอขอเป็นคนกำหนดเองว่า โรงเรียนในฝันของนักเรียนสมัยนี้ควรเป็นอย่างไร
You ghost me every saturday night
Reading Time: 3 minutesyou ghost me every saturday night หนังสือรวมความเซอร์เรียลของมนุษย์และผีฉบับโฆษณาของ เบนซ์-ธนชาติ ศิริภัทราชัย ที่หลายต่อหลายครั้ง ปรากฎการณ์ ghosting จากผีสางนางไม้ ยังไม่ชวนขนลุกขนพองเท่ากับการ humaning ของเหล่าโฮโมเซเปียนส์ปี 2024 เลยด้วยซ้ำ
2475 นักเขียนผีแห่งสยาม อุดมการณ์อาจเลือนหาย แต่หมึกปากกายังอยู่
Reading Time: 3 minutesนี่คือเรื่องราวของนักเขียนผีแห่งสยาม ในประเทศที่หลายครั้งใครบางคนพยายามทำให้นักข่าวต้องกลายเป็นผีไปเสียเอง ความจริงผ่านน้ำหมึกที่นิภาใช้เพื่อสร้างเสรีภาพของสื่อผ่านการเป็นประจักษ์พยานความเหลื่อมล้ำในรัชสมัยแห่งการเปลี่ยนผ่าน
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
แรงงานแพลตฟอร์มหญิง: เจองานไม่ตรงปก ถูกคุกคาม ไร้อำนาจต่อรอง และข้อท้าทายในการรวมกลุ่ม
Reading Time: 2 minutesเปิดชีวิตคนงานแพลตฟอร์มหญิง ค่าแรงลดเพราะตลาดแข่งขันสูง แถมไม่มี/ไม่รู้รายละเอียดสัญญาจ้างงาน และแบกต้นทุนการทำงานเองทุกอย่าง เจอลูกค้าไม่ตรงปก-คุกคามทางเพศ แต่เรียกร้องอะไรไม่ได้ ต้องพึ่งพากันเอง เชื่อการรวมกลุ่มสร้างอำนาจต่อรองสิทธิแรงงานได้ ไม่สู้เพียงลำพัง
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เสรีภาพไม่มี คนตาดีไม่ปรากฎ (นอก)ดินแดนคนตาบอด
Reading Time: 3 minutesถ้าการมองเห็น และถูกมองเห็นมันสลักสำคัญ จะตาบอดหรือตาดีก็มีความหมายในสถานการณ์ที่แหลมคมระหว่างการเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยของไทย คงไม่มีใครอยากมีจุดจบแบบ “หุบเขาคนตาบอด”
ฝนตุลาฯ จนกว่าเราจะพบกับอีก
Reading Time: 3 minutesอ่านวรรณกรรมของกุหลาบ สายประดิษฐ์ อีกครั้งก็เหมือนผ่านความเป็น “คน” ที่เชื่อว่า “คนเท่ากัน”
คนที่คุณไม่เคยได้เป็น
Reading Time: < 1 minuteกวีนิพนธ์ ลำดับที่ 27 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus
เสียงจากประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ เมื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีคือสิทธิมนุษยชน กฎหมายจะไม่เป็นแค่ตัวหนังสือ
Reading Time: 3 minutesหนึ่งในผิดพลาดของแผนแม่บทบริหารจัดการแร่ที่เด่นชัด คือ การขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งแร่ส่วนใหญ่ไม่ได้รับโอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนนั้นไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชนไม่สามารถทำได้อย่างถูกต้อง การขาดการสำรวจพื้นที่อย่างละเอียดและมีความรอบคอบยังเป็นอีกหนึ่งปัญหา