
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Play Read
ที่บริษัทแห่งนี้มีตอนจบอย่างที่คุณต้องการ : ความตายที่ (สามารถ) วาดไว้ เช่นเดียวกับการมีชีวิตอยู่
Reading Time: 3 minutesเด็กน้อยที่หลงใหลความตายในวันนั้นก็กลายมาเป็นผู้ใหญ่ที่พยายามหาคำปรึกษาและวางแผนความตายให้ได้มากที่สุดในวันนี้ แต่ก็อดคิดไม่ได้ว่าแท้จริงแล้ว ‘ความตายที่วาดไว้’ จะเป็นได้แค่ความฝันหรือเปล่า มันจะไม่มีทางเลือกสำหรับตอนสุดท้ายของชีวิตเลยหรือ
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ยุติธรรมแล้วหรือที่เราจะเกลียดกุหลาบทั้งสวน เพียงเพราะเคยโดนหนามตำ
Reading Time: < 1 minuteมนุษย์มีความสามารถในการพัฒนาความยืดหยุ่นทางจิตใจและการมองเห็นโอกาสใหม่ ๆ ได้ ผ่านการฝึกฝนทักษะต่าง ๆ เช่น การคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล การจัดการกับอารมณ์และความรู้สึก และการพัฒนามุมมองที่กว้างขึ้น การตระหนักถึงข้อจำกัดของการตัดสินจากประสบการณ์ส่วนตัว และการพัฒนาความสามารถในการมองเห็นภาพที่กว้างขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาตนเองและการอยู่ร่วมกันในสังคม เฉกเช่นที่กุหลาบแต่ละดอกมีทั้งความงามและหนาม ประสบการณ์ชีวิตก็มีทั้งด้านบวกและด้านลบ การเรียนรู้ที่จะมองเห็นภาพรวม และเปิดใจรับความเป็นไปได้ใหม่ ๆ จึงเป็นกุญแจสำคัญสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในระดับบุคคลและสังคม
โกดังไทยอำพราง Made by China ที่ยกกระบัตร มลพิษข้ามชาติที่รัฐไทยเพิกเฉย ‘ผิดเพี้ยนและผุพัง’
Reading Time: 9 minutesเศษซากไฟไหม้โกดังที่ 8 ของโกดังในซอยคลองเจ๊ก ต.ยกกระบัตร อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร ตั้งแต่ปลายเดือนมกราคม 2568 ไม่ได้ทิ้งร่องรอยไว้แค่หลังคาสังกะสีและอาคารสีดำไหม้ที่พบเครื่องจักรและกากอุตสาหกรรมหลายประเภทไว้ข้างใน
แต่ไฟไหม้ครั้งนี้ ยังทำให้เห็นว่าแท้จริงแล้วข้างใน ‘ประกอบกิจการ’ ที่อันตรายเพียงใด ขณะเดียวกันยังค้นพบถึงกระบวนการอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมที่ผิดกฎหมายหลายประการ
เลือกตั้งที่บราซิล: ภาพสะท้อนการเมืองโลก
Reading Time: 2 minutesภาวะการแบ่งแยกแตกขั้วรุนแรงเช่นนี้สะท้อนให้เห็นผ่านการแข่งขันเลือกตั้งในหลายประเทศ ไม่ว่าจะในเกาหลีใต้ สหรัฐ ฯลฯ รวมถึงในประเทศไทยของเราด้วย
GRID • LIST • PAGINATION
ถึงมนุษย์แรงงานทุกคน เพราะบนโลกใบนี้ไม่มีงานง่าย
Reading Time: 2 minutesถ้างานมันจะง่ายแบบนั้น แล้วหนังสือเล่มนี้จะชื่อ บนโลกใบนี้ไม่มีงานง่าย ได้อย่างไร
สังคมจมดราม่าหรือทฤษฎีสมคบคิด ‘เจ้าหญิงเคท’ เมื่อภาพก็ใช้ยืนยันไม่ได้
Reading Time: 4 minutesมีคำถามหนักขึ้นว่า ตกลงเจ้าหญิงเคทเธออยู่ไหนกันแน่ บ้างถามถึงขนาดว่ายังทรงมีชีวิตอยู่หรือไม่ มีบ้างที่สงสัยว่าการผ่าตัดอาจไม่ได้ผลหรือไม่ก็มีโรคที่ร้ายแรงมากกว่าที่เปิดเผยออกมา มีคนถามไปถึงการถูกทำร้ายร่างกายหรือถูกกักบริเวณก็มี รวมไปถึงที่ว่าหลบซ่อนตัวด้วย คือโลกโซเชียลนั้นเหมือนจะพร้อมจะเป็นแหล่งบ่มเพาะทฤษฎีสมคบคิดตลอดเวลา
สิ่งที่ AI แทนมนุษย์ไม่ได้
Reading Time: < 1 minuteสิ่งที่ทำลายความเป็นมนุษย์ไม่ได้เกิดจาก AI แต่เกิดจากประดิษฐกรรมอื่นก่อนหน้าของมนุษย์เอง ไม่ว่าจะเป็น “รัฐผูกขาด” “สงคราม” “ระบบทุนนิยม” “อำนาจนิยม” หากมนุษย์ปฏิเสธสิ่งเหล่านี้ได้ เราก็จะสามารถใช้ AI เพื่อตอบสนองต่อความเป็นมนุษย์พื้นฐานของเราให้สมบูรณ์มากขึ้นได้
ไร้คำสั่งซ้ายหัน-ขวาหัน มีเพียงการขยับในแนวระนาบ
Reading Time: 3 minutesหนังสือเล่มนี้คงไม่ใช่หนังสือที่ดีนักที่จะอธิบายกับผู้อ่านว่าอนาธิปไตยนั้นหมายความว่าอะไรกันแน่ ไม่มีความหมายที่จริงแท้แน่นอนและไม่มีสูตรสำเร็จในการเป็นนักอนาธิปไตย แต่หนังสือเล่มนี้เป็นทรรศนะของสก็อต ที่ชวนให้เราขบคิด ถึงความสลับซับซ้อนแต่ร้อยเรียงกันของธรรมชาติที่นับรวมถึงมนุษย์ แต่ต้องอยู่ภายใต้การรัฐที่เป้นนักจัดแจงสุดแสนเจ้ากี้เจ้าการ
แด่หลานม่า – ด้วยรักและผุพัง
Reading Time: 3 minutes‘หลานม่า’ กับ ‘ด้วยรักและผุพัง’ มีแก่นแกนใจกลางเดียวกัน นั่นคือการบอกเล่าถึงสิ่งที่เรียกว่า ‘ครอบครัวชาวจีน’ (Chinese Family) ที่มีลักษณะเฉพาะตัวหลายอย่าง
ลอกคราบพุทธแท้ จริตศรัทธาของชนชั้นกลางใต้บงการความดีงามของชนชั้นนำ
Reading Time: 3 minutesจากธรรมะโพรพากานด้าช่วงกึ่งพุทธกาลเพื่อการรวมศูนย์ ถึงธรรมะมาร์เก็ตติ้งทางลัดสู่นิพพานหลัง 2520 ในแก่นกลางของความเป็นพุทธแท้ของรัฐไทย เราจะเห็นจริตความศรัทธาที่อาจศักดิ์สิทธิ์สำหรับใครบางคน แต่สำหรับบางคนกลับกลายเป็นความงมงาย แต่ในความจริงแท้ของพุทธที่หลายคนยึดถือ มีรัฐ เป็นคนที่คอยชี้นำในทุกยุคสมัย
นำแว่นส่องพระดูให้ลึกถึงมวลสารของพุทธแท้ในความเป็นไทย สวรรค์อยู่ในอก นรกอยู่ในใจ แต่พุทธแท้ที่เราเข้าใจ ใคร เป็นคนสร้างมันขึ้นมา
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Baphoboy ศิลปะของการยิ้มรับกับอำนาจมืด
Reading Time: 4 minutesDe/code คุยกับเจ้าของผลงานภาพวาดแนว Pop Art ที่เรียกตัวเองว่า Baphoboy หรือ เคน-สิปปกร เขียวสันเทียะอ เขามีจุดเริ่มต้นมาจากคำถามในห้องเรียนที่อยากระบายความหดหู่กับเรื่องราว “ตาสว่าง” ของตัวเอง
Before and AFTER เขาคือเสือ เสือคือเขา
Reading Time: 3 minutesเคยสิ มันต้องมีสักครั้งที่คุณรู้สึกแปลกแยกกับผู้คนและสถานที่ แม้แต่ในโบสถ์ สวนสาธารณะสถานที่ทำงาน กระทั่ง Café & Bar เธอเปิดโน๊คบุ๊คนั่งประชุมในมุมสลัว ชายสูงวัยกึ่งนั่งกึ่งหลับหลับขณะที่วัยรุ่นสามสี่คนนั่งดื่มโดยไร้บทสนทนามีเพียงแสงฟ้าจากหน้าจอที่เลื่อนไลก์ไถฟีด หลังสงครามแห่งการเป็นเจ้าของชีวิตตัวเองยืดเยื้อยาวนาน ทันใดแสงไฟในบาร์ก็สว่างจ้าน้ำตารื้น บทเพลงสุดท้ายกลายเป็นเพลงอกหักมากกว่ารักทั้งปวง
ปัตตานีดีโค้ดเด็ด: เทศกาลที่เป็นยิ่งกว่าสำนึกรักบ้านเกิด
Reading Time: 3 minutesPattani Decoded เป็นเทศกาลประจำ 2 ปี แต่ละครั้งธีมหลักจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ โดยมีเนื้อหาว่าด้วยเรื่องแวววาวต่างๆ ของเมืองปัตตานี …เมืองแวววาวที่แวววาวจนต้องหรี่ตาเวลาพูดถึง ซึ่งคนนอกแทบไม่รู้ว่ามีอยู่เบื้องหลังข่าวที่ว่าแต่เรื่องความขัดแย้งและความรุนแรงซ้ำซาก
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 2]
Reading Time: 3 minutesคนทำงาน ฉัตรชัย พุ่มพวง สายธารการลุกขึ้นสู้และชัยชนะของขบวนแรงงานในสังคมไทย ในยุคต้นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หลังจากที่ ร.5 รวบอำนาจจากเหล่าเจ้าขุนมูลนายทั่วอาณาบริเวณที่เหลือเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งฝรั่งเศสทั้งอังกฤษได้สำเร็จ ก่อเกิดเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นเป็นครั้งแรก พร้อมกันนั้นได้มีการยกเลิกระบบไพร่ทาสไป เนื่องจากมีแรงงานจีนอพยพได้หลั่งไหลเข้ามาในสยามจำนวนมากตั้งแต่สมัย ร.4 ทำให้ต้นทุนของระบบไพร่ทาส เริ่มที่จะแพงและไร้ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับแรงงานรับจ้างอย่างแรงงานจีน มีการปฏิรูประบบภาษีให้รวมศูนย์มาที่กษัตริย์โดยให้ทุกคนจ่ายภาษีแทนการเรียกเกณฑ์แรงงานบังคับ เมื่อสัดส่วนของแรงงานจีนในสังคมสยามมีมากขึ้น ๆ ปัญหาเรื่องสภาพการทำงานที่ย่ำแย่ จึงเข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ปกติแล้ว เมื่อคนจีนอพยพไปอยู่ที่ไหนในโลก ก็จะมีการพยายามรวมกลุ่มกัน เป็นที่มาของคำว่า “อั้งยี่” ที่เป็นคำใช้เรียกองค์กรของแรงงานจีน ซึ่งจริง ๆ แล้วทำหน้าที่คล้ายกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อรองกับรัฐและทุนนั่นเอง กุลีจีนเหล่านี้เป็นแรงงานกลุ่มแรก ๆ ที่สไตร์คหยุดงานในสยาม ไม่ว่าจะเป็นแรงงานจีนในเหมืองที่ภาคใต้ หรือ กุลีลากรถและกรรมกรแบกข้าวสารในพระนคร ช่วงแรกรัฐบาลสมบูรณาฯ ก็รู้สึกสะดวกในการดีลกับผู้นำของอั้งยี่ทำให้ควบคุมจัดการพวกแรงงานจีนทำได้ง่าย แต่พอนานไปเข้าก็รู้สึกได้ถึงอำนาจต่อรองที่มากเกินไป เพราะมีเหตุการณ์ที่แรงงานจีนเหล่านี้สไตร์คหยุดงาน จึงทำให้ต้องออกกฎหมายอั้งยี่ซ่องโจรออกมา เพื่อกดปราบแรงงานจีนเหล่านี้ เมื่อเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรในปี 2475 ขบวนแรงงานในสังคมไทยก็เติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ บางยุครวมตัวกันได้อย่างแข็งขัน บางยุคถูกฝั่งรัฐและทุนโต้กลับกดปราบ โดยเฉพาะยุคเผด็จการสฤษดิ์ ถนอม ประภาส ที่มีการใช้มาตรา 17 ประหารสุภชัย ศรีสติ ผู้นำแรงงาน […]
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
การเรียนรู้ไม่เท่ากับการศึกษา บทสนทนาที่เริ่มจากนิยามการศึกษากับ ‘ธีรภัทร รื่นศิริ’
Reading Time: 2 minutesคุยกับธีรภัทร รื่นศิริ อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงแนวคิดการศึกษาไทยที่ยังคงเป็นปัญหา ไม่ว่าจะเป็นการสั่งการบ้าน ไปจนถึงการตัดเกรดแบบอิงกลุ่ม
Pluto เจ้าหนูอะตอมกับโลกที่เต็มไปด้วยความเกลียดชัง
Reading Time: 3 minutesย้อนกลับไปประมาณยี่สิบปีก่อน ในช่วงทศวรรษที่ 2000 ได้มีการ์ตูนญี่ปุ่นจำนวนมากไม่ว่าจะเป็นอนิเมะหรือมังงะที่พูดถึงความขัดแย้งในตะวันออกกลาง ไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม Pluto ของอุราซาวะ นาโอกิ ก็เป็นหนึ่งในนั้น
Pluto เป็นมังงะที่ถูกเขียนในปี 2003 โดยเป็นการเล่าเจ้าหนูปรมาณูมังงะจบในตอนที่ตีพิมพ์ช่วงทศวรรษที่ 1950 – 1960 ของเท็ตสึกะ โอซามุเสียใหม่ ให้มีความร่วมสมัยมากยิ่งขึ้น โดยอุราซาวะได้ใช้ตอนคลาสสิก ‘หุ่นยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก’ เป็นพล็อตในการดำเนินเรื่อง โดยขยายจากการ์ตูนจบในตอนกลายเป็นมังงะยาว 8 เล่ม
ความงามแห่งศาสตร์วิชา
Reading Time: < 1 minuteเด็กหญิงวีรพรอายุสิบสามตอนถามครูคณิตศาสตร์ว่า 7 x 1 = 7 เจ็ดยกกำลังตัวมันเองหนึ่งครั้งได้ตัวมันเอง (ซึ่งก็น่างงอยู่พอแรงอยู่แล้ว) แล้ว 7 x 0 = 0 เจ็ดยกกำลังตัวมันเองศูนย์ครั้ง แปลง่ายๆ ตามความเข้าใจขณะนั้นคือเจ็ดไม่ได้ยกกำลังหรือทำอะไรเลย แล้วตัวมันเองหายไปไหน หายไปได้อย่างไร ทำไมถึงหาย ยิ่งกว่านั้นไม่ว่าใครก็ตาม…1 2 3 4 5 6 7 8 9 x 0 ก็จะมีค่าเท่ากันหมด คือกลายเป็น 0…ไร้ค่า แปลว่าอะไร