seeddemo - Decode

SLIDER • HEADLINE

GRID • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Interviews

เลือดแห่งการตีตรา

Reading Time: 3 minutesเป็นที่รู้กันดีว่าประเทศไทยพบกับวิกฤตเลือดหมดคลังอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 อย่างไรก็ตาม ยังมีคนบางกลุ่มถูกกีดกันการบริจาคเลือด พร้อมข้อความที่ระบุว่า ‘ไม่รับบริจาคโลหิตอย่างถาวร’ บนเว็บไซต์ของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติสภากาชาดไทย เพราะเพศสภาพของพวกเขา

GRID • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Journalism

‘สื่อเพื่อการเปลี่ยนผ่าน’ ก้าวต่อไป…ในวิสัยทัศน์ ‘ปัทมาวดี โพชนุกูล’

Reading Time: 4 minutesถามตรง-ตอบตรง กับการแสดงวิสัยทัศน์ของ ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้รับสมัครการสรรหาผอ.ไทยพีบีเอสคนต่อไป

Decode
Columnist

กระดาษเปล่า ผ้าคลุมผม หนีทหาร และการเมืองเชิงสัญลักษณ์

Reading Time: 2 minutesอย่างไรก็ตาม สำหรับคำถามที่ว่าการชุมนุมประท้วงของประชาชนในจีน อิหร่าน และรัสเซีย จะสามารถสั่นคลอนรัฐบาลหรือนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมืองหรือไม่ คำตอบคือ ยาก เพราะทั้ง 3 รัฐล้วนมีกลไกรัฐที่แข็งแกร่งและครองอำนาจมายาวนาน มียุทธศาสตร์และยุทธวิธีในการรับมือกับการชุมนุมประท้วงที่แยบยลหลากหลายวิธีการ ไม่ว่าจะเป็นการปราบปรามบนท้องถนน การใช้เครื่องมือทางกฎหมาย การปลุกกระแสชาตินิยม และการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร เช่น การดิสเครดิตประชาชนที่เคลื่อนไหวว่ารับเงินต่างชาติมาสร้างสถานการณ์และมีเจตนาแอบแฝง การสร้างข่าวปลอม การหันเหความสนใจของประชาชนด้วยข่าวอื่น ดังที่รัฐบาลจีน รัสเซีย และอิหร่านทำอยู่ในปัจจุบัน

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ

GRID • LIST • PAGINATION

ผู้ลี้ภัยนับแสนยังไร้ ‘สถานะ’ กลายเป็นปัญหาของเราทุกคน

Reading Time: 2 minutesวงเสวนาที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ผู้ลี้ภัยในประเทศไทยเกิดขึ้นบริเวณย่านรามคำแหง มีตัวแทนทั้งจากสภาผู้แทนราษฎร คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ภาคประชาสังคมที่ทำงานเกี่ยวกับผู้ลี้ภัย หน่วยงานรัฐ และภาคส่วนอื่น ๆ ที่ไม่อาจเปิดเผยรายละเอียดได้ เนื่องด้วยเป็นวงเสวนาแบบปิดที่ไม่อาจเปิดเผยรายละเอียดและเนื้อหาทั้งหมด ผู้สื่อข่าวได้ขออนุญาตนำเสนอเนื้อหาบางส่วน อันเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ

‘เรียนดี มีความสุข’ ยอดภูเขาน้ำแข็งของการศึกษาไทย

Reading Time: 3 minutesกลายเป็นข้อกังขาสำคัญต่อความเหมาะสมกับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่เริ่มทำงานผ่านปากคำของ ครูทิว-ธนวรรธน์ สุวรรณปาล ครูโรงเรียนวัดธาตุทองที่เน้นย้ำต้องการคนที่มีวิสัยทัศน์ด้านการศึกษา เคยทำงานหรือมีความสนใจด้านการศึกษาที่คนทั่วไปเห็นและพอรู้จักวิธีคิดด้านการศึกษา เพราะสิ่งเหล่านั้นจะเป็นการแสดงถึงวิธีการจัดการบริหารและจัดสรรงบให้คุ้มค่าและตรงตามความต้องการอย่างแท้จริง

ตากใบ กระจกสะท้อนกระบวนการยุติธรรม

Reading Time: 2 minutesขยายประเด็น นวลน้อย ธรรมเสถียร ผ่านกันไปอีกปีหนึ่งสำหรับวันครบรอบเหตุการณ์ตากใบเมื่อ 25 ตุลาคมที่ผ่านมา หลาย ๆ ฝ่ายได้ใช้โอกาสนี้ในการแสดงออกเรื่องปัญหาความไม่เป็นธรรมซึ่งก็เหมือนกับอีกหลายเหตุการณ์ คือเมื่อถึงคราวครบรอบก็พูดกันทีหนึ่ง แต่สรุปแล้วก็อาจจะแค่ได้พูดถึงเท่านั้น อันที่จริงจะพูดว่าไม่มีอะไรใหม่เกิดขึ้นเลยก็อาจจะไม่ตรงทีเดียวนัก เพราะปีนี้เราได้เห็นกลไกของรัฐสภาออกแถลงการณ์เรื่องตากใบ โดยคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาศึกษาและเสนอแนวทางการส่งเสริมกระบวนการสร้างเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็นกรรมาธิการวิสามัญที่เพิ่งจะตั้งขึ้นมาใหม่ ทำให้รัฐสภามีความเคลื่อนไหวในเรื่องสำคัญคือปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ในจังหวะที่สอดรับกับสถานการณ์อย่างมาก เนื้อหาแถลงการณ์ที่ออกมาเมื่อ 25 ตุลาคมที่ผ่านมามีสาระสำคัญเรียกร้องให้รัฐบาลสร้างความเป็นธรรมในกรณีตากใบ โดยระบุอย่างจำเพาะเจาะจงให้มีการดำเนินคดีอาญากับเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องกับการสลายการชุมนุมที่นำไปสู่การเสียชีวิตของคนจำนวน 85 คนให้ทันก่อนที่อายุความของคดีอาญาจะหมดลงในปีหน้า ยิ่งกว่านั้นยังเรียกหามาตรการที่จะจำกัดไม่ให้เจ้าหน้าที่รัฐใช้อำนาจเกินขอบเขต ไม่บังคับใช้กฎหมายจนเกิดการเลือกปฏิบัติและลิดรอนสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเรียกร้องให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมหรือไม่ก็ยกเลิกกฎหมายความมั่นคงที่ใช้อยู่ในพื้นที่ซึ่งมีอยู่สามฉบับคือกฎอัยการศึก พรก.ฉุกเฉินและพรบ.ความมั่นคง แถลงการณ์บอกว่า การสร้างความเป็นธรรมบังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาคจะเป็นการ “ถอนฟืนออกจากไฟ” คือลดความรู้สึกเชิงลบที่ประชาชนมีต่อเจ้าหน้าที่และจะเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างบรรยากาศการพูดคุยได้ แถลงการณ์จากรัฐสภาฉบับนี้ผู้เขียนถือว่ามีความหมายอย่างยิ่ง แม้ว่าในทางความเป็นจริงของชีวิต จะเป็นที่รู้กันว่าการจัดการปัญหาภาคใต้ยังคงอยู่ในมือของข้าราชการประจำฝ่ายความมั่นคงซึ่งระบบเข้มแข็งขึ้นอย่างมากภายในเวลาเกือบเก้าปีของรัฐบาลประยุทธ์ จันทร์โอชา และก็ต้องยอมรับด้วยว่ากลไกของรัฐบาลพลเรือนชุดใหม่ยังไม่เข้มแข็งพอในอันที่จะกำหนดมาตรการที่เกี่ยวกับสามจังหวัดภาคใต้ได้อย่างเต็มที่ การที่พรรคการเมืองในรัฐสภาสามารถแสดงบทบาทติดตามกระบวนการสร้างสันติภาพได้อย่างเป็นทางการ อย่างน้อยก็เป็นย่างก้าวสำคัญของการที่กลไกที่เป็นตัวแทนประชาชนจะเข้ามามีส่วนในเรื่องกระบวนการแก้ปัญหาสามจังหวัดภาคใต้ได้ การออกแถลงการณ์เรื่องของเหตุการณ์ตากใบถือได้ว่าเป็นการจัดวางท่วงทำนองที่อ่านได้ว่าฝ่ายตัวแทนของประชาชนมองความขัดแย้งในพื้นที่ จชต.เป็นปัญหาด้านการเมืองอย่างชัดเจน กรณีตากใบไม่ได้มีความสำคัญต่อเฉพาะพ่อแม่ญาติพี่น้องของคนที่เสียชีวิต หรือกับสังคมและชุมชนคนในสามจังหวัดเท่านั้น แต่กับสังคมไทยโดยรวมด้วย  เพราะนี่เป็นตัวอย่างที่สำคัญมากที่สุดอันหนึ่งของปัญหาความไม่เป็นธรรมที่กำลังถูกปล่อยผ่านด้วยวิธีการเยียวยาด้วยเงินและปล่อยให้เวลาลบความทรงจำในขณะที่ช่องทางการทวงถามความยุติธรรมตามระบบถึงทางตัน และอาจจะเพราะด้วยเหตุนี้ การจัดงานรำลึกหรือการพูดถึงแม้จะดูซ้ำซากแต่ก็ยังเป็นเรื่องจำเป็นสำหรับสังคมไทยเพราะเราต้องเตือนความทรงจำกันเรื่อยไปว่าปัญหาไม่ได้หายไปไหน เหตุการณ์ละเมิดแบบนี้ซึ่งถือเป็นอาชญากรรมไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม แต่ควรจะต้องเริ่มคลี่คลายกันด้วยความเป็นธรรมเป็นอันดับแรก ผู้เขียนเป็นหนึ่งในนักข่าวที่เคยสัมภาษณ์ผู้เสียหายหลายกรณีรวมทั้งตากใบและพบว่า สาระสำคัญที่ผู้เสียหายที่ถูกกระทำโดยรัฐเสนอคือพวกเขาไม่ได้ต้องการเงินมากไปกว่าความยุติธรรม ในเรื่องของตากใบที่มาพูดกันหนักในปีสองปีนี้เนื่องจากเริ่มมีผู้แสดงความเป็นห่วงกันมากกรณีอายุของคดีความที่กำลังจะหมดลงในปีหน้า จากที่ได้สนทนากับนักกฎหมายหลายคน พวกเขายอมรับว่าความเคลื่อนไหวเรื่องนี้ถึงทางตันไปนานแล้วตั้งแต่ขั้นตอนของการไต่สวนการตายซึ่งปกติแล้วถือเป็นจุดเริ่มต้นนับหนึ่งสำหรับการจะดำเนินคดีอาญาในกรณีที่พบว่ามีการตายเกิดขึ้นภายใต้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ คำสั่งไต่สวนการตายกรณีตากใบมีออกมาห้าปีให้หลังเหตุการณ์ เมื่อเดือน พ.ค.2552 ศาลสงขลาอ่านคำสั่งไต่สวนการตายกรณี 78 […]

พื้นที่สาธารณะของบางกอก

Reading Time: < 1 minuteประเทศเต็มไปด้วยคำตอบอันปราศจากคำถาม วีรพร นิติประภา เมืองคือที่ผู้คนอยู่อาศัยร่วมกัน  หัวใจของเมืองจึงอยู่ที่พื้นที่สาธารณะหรือพื้นที่ที่ไม่ใช่ของใครคนใดแต่เป็นของทุกคน  ไม่ใช่บ้านเรือนส่วนตัวของใครของมัน สำหรับคนชั้นกลางในกรุงเทพฯ ที่มีรายได้มากพอจะมีที่อยู่อาศัยกว้างขวางสักหน่อย …ไม่ต้องใหญ่ มีเงินเหลือพอท่องเที่ยวใกล้ไกลบ้าง …ไม่ต้องบ่อย หรือมีรายได้มากพอจะขับรถยนต์ส่วนตัวขับไปกินอาหารตามร้านชานเมืองหรือริมน้ำ …บางครั้ง พื้นที่สาธารณะอาจไม่มีความสำคัญมากนัก แต่คนจำนวนมากของกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นหนึ่งเมืองประชากรมากที่สุดในโลก นอกจากจะใช้ชีวิตประจำวันในพื้นที่จอแจพลุกพล่าน เดินทางโดยรถโดยสารยัดเยียดแออัด มีความสามารถเช่าพักที่อาศัยได้แค่ห้องเล็ก ๆ คับแคบ และหลายคน…ห้องที่ว่ายังใช้อาศัยร่วมกันทั้งครอบครัวจนล้น มิหนำซ้ำยังซ่อนอยู่ในกลางชุมชนแออัดทั้งแนวตั้งและแนวนอน …พวกเขาไม่มีรายได้มากพอจะเดินทางออกไปสูดอากาศหรือหย่อนใจที่ไหน พื้นที่สาธารณะที่มีไม่มากนักเมื่อเทียบกับอัตราประชากรจึงเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในสิ่งจำเป็นขั้นพื้นฐานด้วยซ้ำ มันสำคัญยิ่งยวดต่อสุขภาวะทางกายและใจ และเป็นสิ่งเหลือหล่อเลี้ยงยืนยันความเป็นมนุษย์ก็ว่าได้ ไม่ใช่แค่ที่ให้หย่อนใจซึ่งฟังดูหรูหราและไม่มีความจำเป็น พื้นที่สาธารณะในเมืองส่วนใหญ่คือทางเท้า ซึ่งก็แคบ ๆ  เป็นคอนกรีตเปลือยร้อน ๆ ใกล้ย่านชุมชนก็จะทั้งพลุกพล่านและสกปรก ไม่มีที่ให้นั่งพักเวลาเมื่อยด้วยซ้ำอย่าว่าแต่หย่อนใจ แถมยังทอดขนาบไปกับถนนจอแจที่รถติดขนัดเกือบทุกเส้น และเต็มไปด้วยควันไอเสีย พื้นที่ว่างอย่างลานคอนกรีตหรือสนามหญ้าตามหน้าอาคารก็ไม่ใช่พื้นที่สาธารณะ แต่เป็นสิทธิ์ของทั้งเอกชนและราชการ ซึ่งก็ปล่อยว่างไว้เพียงเพื่อให้สถานที่ดูร่มรื่นสวย กับสงวนไว้ใช้จัดกิจกรรมส่วนตัวเท่านั้น และมีรักษาความปลอดภัยคอยตรวจตราดูแลไม่ให้คนเข้าไปนั่งเล่นหย่อนใจ พื้นที่สาธารณะจริง ๆ จึงเหลือแค่สวนสาธารณะ ที่มีพื้นที่โล่งกว้างกับต้นไม้ใหญ่หน่อยก็มีสวนลุมพินี สวนเบญจกิตติ สวนรถไฟ สวนสราญรมย์ สวนรมณีนาถ สวนปทุมวนานุรักษ์ที่เพิ่งเปิดใหม่ กับที่น่าตื่นใจและเป็นความหวังของชาวกรุงคืออุทยานเฉลิมพระเกียรติที่ยังไม่เสร็จเปิดที่สนามม้านางเลิ้งเดิม ซึ่งสวนเหล่านี้จะว่าเข้าถึงได้ง่ายก็ง่ายเพราะอยู่ใจกลางเมือง จะว่ายากก็ยากเพราะล้อมรอบด้วยรถติดหนัก และจะว่าไปยังขาดแคลนอากาศหายใจ ส่วนสวนหลวงร.เก้า พุทธมณฑล สวนพฤกษชาติคลองจั่น สวนศรีนครเขื่อนขันธ์บางกระเจ้า ที่ร่มรื่นกว่ามากและอากาศดีก็ห่างไกล กับจะสะดวกต่อการไปมาก็ต่อเมื่อมีพาหนะส่วนตัว พื้นที่ริมน้ำนอกจากสวนสันติไชยปราการซึ่งไม่ใหญ่นักก็นึกไม่ออกว่ามีที่ไหนอีก สวนที่เหลือก็เป็นแค่ส่วนหย่อมเล็ก ๆ และไม่มีต้นไม้ใหญ่ทั่วไปตรงนั้นตรงนี้ โดยรวมการดูแลบำรุงรักษาสวนสาธารณะของ กทม.ยังต้องขอบอกว่าไม่ดีเท่าไหร่นัก  ต้นไม้แคระแกร็น ไม่ใคร่สมบูรณ์ สนามกีฬาใหญ่มีที่ปทุมวัน หัวหมาก และไทย-ญี่ปุ่นดินแดง ทั้งสามแห่งมีพื้นที่ว่างโดยรอบที่ให้เข้าไปใช้สอยหย่อนใจได้พอควร แต่ก็ยังน้อยแห่งเกินไป นอกจากนั้นก็มีวัดวาต่าง ๆ ที่มีที่นั่งและพื้นที่ให้ญาติโยมเข้าไปใช้ได้ แต่ความที่เป็นสถานศักดิ์สิทธิ์รวมทั้งยังเป็นสถานฌาปนกิจตั้งสวด ก็อาจทำให้ไม่ค่อยได้รับความนิยมเท่าที่ควร นอกจากนั้นก็มีห้องสมุดสาธารณะ ซึ่งก็มีหลายแห่งมาก ๆ แต่เท่าที่เคยผ่านไปไม่กี่แห่งก็ต้องยอมรับว่าไม่น่าประทับใจนัก ขนาดเล็กจ้อย หนังสือก็มีไม่กี่เล่ม ไม่น่าสนใจและเก่า หนังสือวิชาการ ความรู้ และวรรณกรรมน้อยมากทั้งที่ห้องสมุดสาธารณะคือสถานพัฒนา เพิ่มพูนความรู้ และเกื้อกูลชดเชยให้กับคนด้อยโอกาสทางการศึกษา เห็นได้ชัดว่าได้รับทุนอุดหนุนน้อย และไม่มีเจตจำนงแข็งแรงในการบริหารจัดการ มองจริงจังจะพบว่าเรามีพื้นที่สาธารณะในเมืองไม่น้อยโดยเฉพาะพื้นที่กลางแจ้ง แต่ผู้คนกลับใช้สอยไม่มากเท่าที่ควร ด้วยเหตุไม่กี่เหตุ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งก่อสร้างใหญ่จำนวนมากที่ทำให้ตัวเมืองเก็บความร้อน ปัญหาจราจรที่ไม่เคยแก้ไขได้จริงจัง ซึ่งทำให้พื้นที่สาธารณะกลายเป็นพื้นที่เปิดสำหรับมลภาวะอย่างหนักทั้งเสียงและอากาศ  รวมทั้งใช้เวลานานกว่าจะไปถึง กับขนส่งมวลชนไม่ทั่วถึงที่ทำให้การเข้าถึงพื้นที่สาธารณะเป็นไปได้ยากลำบากเกินไป เป็นเรื่องน่าตกใจไม่น้อยที่เมื่อมองลงไปจะพบว่าคุณภาพเมือง คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ สุขภาพทางกายและใจ ของคนนับสิบล้าน ตามทะเบียนราษฎร์และอาจมีจำนวนอยู่จริงมากกว่านั้นถึงเท่าตัวของเมืองขนาดเมกก้า  ตกต่ำและผุกร่อนจากปัญหาแค่ผังเมืองที่ยังคงขยายตัวไร้ระเบียบ การบริหารจัดการการจราจรและขนส่งมวลชน …ซึ่งไม่มีปัญหาใด ๆ ในโลกที่หากแก้ไขจริงจังจะแก้ไขไม่ได้

มหรสพสัญจรรถแห่ ท่วงทำนองอีสานใหม่ที่ชุบหัวใจคนไกลบ้าน

Reading Time: < 1 minuteการเกิดขึ้นของวัฒนธรรมอีสานใหม่ในชื่อ ‘รถแห่’ ที่วัฒนธรรมดนตรีในฐานะส่วนหนึ่งของชาวอีสานพลัดถิ่น ได้รับการต่อยอดผ่านการผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ตลอดจนการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนวัฒนธรรมอีสานในบริบทการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจไทย

เหลือเพียงความทรงจำ เมื่อกำแพงกันคลื่น กลืนชายหาด

Reading Time: 2 minutesผมเกิดที่ทะเล โตมากับทะเล อยู่กับชายหาดตั้งแต่จำความได้ ผมและเพื่อนเตะบอลชายหาดหลังเลิกเรียนทุกวันและชะล้างเศษทรายบนร่างกายด้วยการโดดน้ำทะเล ก่อนจะกลับไปเจอกับไม้เรียวพ่อที่ถือท่ารออยู่ เพราะเป็นบ้านที่พ่อไม่อนุญาติให้เล่นทะเล ทุกเดือนเมษาจะมีหน้าทรายก่อตัวขึ้นบนผิวน้ำที่เดินลงไปในทะเลเกือบ 50 เมตร เหมือนพวกเราเดินอยู่บนน้ำได้อย่างไรอย่างนั้น ผมเพิ่งรู้จากหนังสือเล่มนี้เช่นกัน ว่าหน้าทรายที่ก่อตัวขึ้น คือตะกอนทรายที่รอเข้าทับถมชายหาดเข้าเติมหาดทราย หลังจากผ่านหน้ามรสุมมาอย่างยาวนาน (หน้ามรสุมก่อตัวขึ้นตั้งแต่เดือนกรกฎาคมและลาจากไปในเดือนธันวาคม) แต่ชายหาดวันนี้ไม่เหมือนเดิม ไม่มีหาดทรายให้เหล่าเด็กผู้ชายได้เตะบอล ไม่มีหน้าทรายที่ก่อตัวขึ้นในช่วงเดือนเมษายน ทั้งหมดทั้งมวลนี้ เป็นผลมาจากกำแพงกันคลื่นยาวกว่าหนึ่งกิโลเมตร จนผมได้มาเจอนักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม น้ำนิ่ง อภิศักดิ์ ทัศนี ที่ทำงานด้านการกัดเซาะชายฝั่ง และรณรงค์ให้ข้อมูลว่ากำแพงกันคลื่นไม่ได้คืนชายหาดอย่างที่ทางการไทยชอบว่าไว้ แต่มันกลืนชายหาด และปล่อยโครงสร้างทางกายภาพทิ้งไว้ ให้เป็นแผลเป็นจากรุ่นสู่รุ่นสืบไป โครงสร้างแข็งยาแรงที่มีผลข้างเคียง ยากจะเยียวยา ก่อนจะเข้าใจเนื้อหาโดยรวมของหนังสือ ผู้เขียนเริ่มต้นด้วยการพาเรารู้จักกับรูปแบบต่าง ๆ ของโครงสร้างทางวิศวกรรมที่เอาไว้ป้องกันแนวชายฝั่ง ซึ่งแบ่งออกเป็นสามแบบที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบันอย่างแพร่หลาย คือ กำแพงกันคลื่น รอดักทราย และเขื่อนกันคลื่น โครงสร้างแต่ละประเภททำหน้าที่ต่างกัน แต่ล้วนมีผลกระทบต่อชายหาดทั้งสิ้น ซึ่งรูปแบบที่ถูกใช้มากที่สุดในบ้านเราคือโครงสร้างประเภทกำแพงกันคลื่น ที่เป็นโครงสร้างแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือหินก้อนใหญ่เรียงต่อกันไปตามแนวชายฝั่ง นับตั้งแต่ปี 2550 เราสูญเสียงบประมาณในการถล่มชายหาดไปแล้วกว่าหมื่นล้าน แต่ตัวเลขนี้ยังไม่น่าจะตกใจเมื่อเราเทียบดูว่าในช่วง 2550-2557 รัฐใช้เงินในการสร้างกำแพงกันคลื่นไปเพียงแค่ 1,900 ล้าน แต่หลังจากประกาศยกเลิกว่ากำแพงกันคลื่นต้องทำ EIA […]

1 51 52 53 54 55 204

GRID • CAPTION

GRID • CARD • HIDE SUMMARY

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Play Read,Columnist

Why grow up ไม่มีช่วงวัยที่ดีที่สุด มีแต่ทุกวินาทีที่ต้องถนอมและกอดเก็บไว้

Reading Time: < 1 minuteทุกอย่างที่เราเจอมาตลอดทั้งชีวิตต่างมีผลต่อการหล่อหลอมประกอบสร้างที่อาจทำให้เรา “ไม่ยอมโต” เพราะโลกของผู้ใหญ่ไม่ใช่โลกที่เราเคยคิด บางคนจำนนกลืนกลายยอมให้คนอื่นเป็นผู้เลือกให้ “เพราะง่ายดี” เลือกให้ตั้งแต่ศาสนา คำสอนของชีวิต ผู้ปกครอง ค่านิยม หรืออำนาจที่จะมาคุมเรา ขณะที่บางคนยืนเด่นท้าทายต่อต้าน ไม่ยอมรับ และเกรี้ยวกราดกับความจริงตรงหน้า หลายคนไม่รู้ว่าจะทำอย่างไรกันเล่ากันทางแยกนี้ ซึ่งไม่รู้ว่ามันคือทางเลือกหรือทางตัน

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
Economy,Futurism

แม่ฉันต้องได้ดูหนังสารคดีที่โรงหนังใกล้บ้าน

Reading Time: 4 minutesบริบทที่มาบรรจบกันเหล่านี้ จะส่งผลอย่างไรต่อการเปิดพื้นที่และสร้างรายได้ให้หนังและซีรีส์แนวสารคดี กระเทาะเรื่องนี้ให้ถึงแก่น ทั้งอุปสรรค โอกาส การตลาด และความหวัง จากปากคำของ 3 คนรักหนังสารคดี เอกลักญ กรรณศรณ์ ผู้ก่อตั้ง BrandThink Cinema สตูดิโอภายใต้แนวคิด Cinema Agency ที่เปิดตัวด้วยหนังนอกกระแสอย่าง  RedLife ธิดา ผลิตผลการพิมพ์ ผู้ก่อตั้ง Documentary club และโรงหนังอิสระ Doc Club & Pub รวมทั้ง ม.ร.ว.เฉลิมชาตรี ยุคล กรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ ผู้ผลักดันนโยบายด้านอุตสาหกรรมภาพยนตร์โดยตรง

อโนมา สอนบาลี
News

“8 ปี 8 สตอรี่” ลุงตู่ไป ลุงป้อมมาแทน?

Reading Time: 6 minutesDe/code ชวนอ่าน 8 เรื่องราว จาก 8 สาขาอาชีพ ตั้งแต่นักวิชาการ ผู้ที่คลุกคลีอยู่ในการเมือง ไปจนถึงพนักงานร้านชำและลูกหนี้กยศ. 8 ปีที่ผ่านมาของพวกเขาเป็นอย่างไร ระยะเวลากว่า 2,921 วันในการบริหาร ควรไปต่อหรือพอแค่นี้

Decode

GRID • CONTENT

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

บันทึกเฉียดตายที่อินเดียใต้

Reading Time: 3 minutesเรื่องราวต่อจากนี้เป็นการเดินทางจากภาคตะวันตกของอินเดีย ล่องลงทางใต้จนถึงจุดสิ้นสุดของแผ่นดินอินเดียที่กันยากุมารี

‘ผ้าอนามัย’ ปราการสุดท้ายแห่งความเท่าเทียม

Reading Time: < 1 minuteความสามารถที่ผู้หญิงถูกผลักให้ต้องรับภาระนั่นแอง ที่กลายมาเป็นจุดเริ่มต้นของการตระหนักในความสามารถที่เท่าเทียม และก่อเกิดขบวนการเรียกร้องสิทธิสตรี

สุรา เครื่องดื่มสีเทา (ไม่ใช่ดำสนิท)

Reading Time: 2 minutesเมื่อคนดื่มสุรา มีวิถีและระดับการดื่มหลากหลายเช่นนี้ เราจึงไม่ควรมองการดื่มสุราว่า เป็นปีศาจร้ายไปเสียทั้งหมด 

MIX

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Columnist,Play Read

บอกลาความสูงส่ง – แตกต่าง เมื่อมนุษย์เป็นเพียงหุ่นฟาง จาก…อำลามนุษยนิยม

Reading Time: 2 minutesเมื่อมนุษย์…เป็นเพียงส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ไร้ซึ่งความสลักสำคัญใดๆ เสมือน ‘หุ่นฟาง’ ที่หลังจากถูกใช้ในการทำพิธีกรรมต่างๆ เมื่อถึงเวลาหนึ่งก็จะถูกเผาทิ้ง

พลอยธิดา เกตุแก้ว

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Survive แบบใด ‘ไม่มีคำตอบสำเร็จรูป’ ในโลกที่แปรปรวน

Reading Time: 4 minutesในภาวะที่โลกกำลังหาทาง “รอด” มนุษย์กลับอยู่ใจกลางของเรื่องนี้เพราะ “มันมาถึง” แล้ว และยากจะหนีพ้น และบ่อยครั้งเราก็อาจตกอยู่ในสภาพของผู้ประสบภัยได้โดยง่าย “สัญญาณ”โต้กลับจากธรรมชาติที่ส่งผลต่อเราทุกคน

Care Income: งานดูแลทุกข์สุขคนในบ้านต้องมีค่าตอบแทน และถูกคิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ

Reading Time: 2 minutesวงเสวนา “การเริ่มต้นบทสนทนาเรื่อง CARE INCOME คุณค่าและค่าตอบแทนงานของแม่และคนทำงานดูแล” ซึ่งมีการพูดถึงและอยากให้สังคมมีการผลักดันให้ “คนทำงานดูแล” มีค่าตอบแทน มีรัฐสวัสดิการ เพราะนี่ก็ถือ “เป็นการงาน” เช่นกัน ซึ่งที่ผ่านมาในปีประเทศไทยเคยลงนามในปฏิญญาและแผนปฏิบัติเพื่อความก้าวหน้าของสตรีเมื่อปี 2538 ซึ่งระบุว่า ต้องคิดมูลค่าเศรษฐกิจของงานดูแลบ้านที่ผู้หญิงทำด้วย แต่จนถึงทุกวันนี้ ยังไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง

กระชังปลาในอาณาจักรอีอีซี

Reading Time: 2 minutesหากกล่าวถึงสาเหตุในการที่ชาวบ้านไม่ต้องการให้พื้นที่ชุมชนถูกปรับเปลี่ยนไปเป็นท่าเรือบกแล้วนั้น คงไม่มีอะไรบรรยายได้ดีไปกว่าการที่ลุงยงยุทธพาฉันไปยังกระชังเพาะเลี้ยงปลานิลจิตรลดา ที่ชาวบ้านในชุมชน ยึดเป็นอาชีพหลักในการหารายได้เลี้ยงปากท้อง การเดินพูดคุยถึงวิถีชีวิตในชุมชนก่อนสอบถามถึงท่าเรือบก เป็นสิ่งที่ทําให้ฉันสัมผัสได้ว่าเพราะเหตุใดชาวบ้านจึงต้องการรักษาพื้นที่ซึ่งเป็นบ้านและแหล่งทํามาหากิน “ปลา กุ้ง ปู สัตว์น้ำต่าง ๆ ในพื้นที่อุดมสมบูรณ์มาก เพราะมีน้ำที่ดีแหล่งน้ำเลยเป็นพื้นที่ประกอบอาชีพและเลี้ยงทุกชีวิตในชุมชน”

พยานแห่งความผิดพลาดล้มเหลว

Reading Time: < 1 minuteฝูงนกบินวนอยู่เหนือผิวแม่น้ำเจ้าพระยา เราจ้องมองมันอยู่นานสองนาน ท่ามกลางรสชาติของกาแฟที่ค่อย ๆ เปลี่ยนไป เราเห็นนกบางตัวพยายามโฉบร่างของมัน ขยับปีกตีกายเริงร่าอยู่เหนือผิวน้ำ สักพักก็ทะลึ่งร่าง พุ่งโจนทะยานขึ้นไปบินวนอยู่บนท้องฟ้า จะว่าไปแล้ว นกทุกตัวก็แลเหมือนว่ามันจะมีลักษณะรูปร่างที่คล้าย ๆ กัน คือมีปีก บินได้ เห็นจะว่าต่างกันอยู่บ้าง ก็ตรงที่ขนาดตัว ซึ่งมีขนาดที่เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง อีกอย่างเห็นจะเป็นความว่องไว แต่อย่างว่า นกก็คือนก แม้จะบินได้อย่างอิสระเสรี แต่ทว่ากลับกัน ในท่ามกลางความอิสระเสรีนั้น นกก็ยังคงต้องระวังภัย จากนกที่ตัวใหญ่กว่ามันอยู่ดี

SLIDER • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Play Read

ความไม่แน่นอน = ความไม่แน่นอน

Reading Time: 2 minutesเลือก Same as Ever จิตวิทยาเอาชนะอนาคต ไม่ใช่เพราะอยากจะเอาชนะอนาคต แต่เลือกเพราะคำโปรยปกหลังหนังสือ “การทำนายอนาคตเป็นเรื่องยาก เหตุการณ์สำคัญที่เปลี่ยนอนาคตมักทำนายล่วงหน้าไม่ได้ ดังนั้น เราควรจะตั้งคำถามใหม่ดีกว่าว่าอะไรจะยังคงเหมือนเดิมในอีกสิบปีข้างหน้า…”

SLIDER • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Play Read,Columnist

ผู้หญิงกับการปฏิวัติที่ยังไม่จบสิ้น

Reading Time: 3 minutesสายธารของการนำผู้หญิงกลับมาสู่พื้นที่ของความทรงจำ จากเดิมจากที่ประวัติศาสตร์มักจะบันทึกโดยผู้ชนะและผ่านมุมมองของผู้ชาย

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Environment

พลัดถิ่น โยกย้ายถิ่นฐาน และการรุกราน ก่อนการสูญพันธุ์ครั้งที่ 6 มาถึง ผ่าน AFTER : Land of Faith ใน CCCL 2025

Reading Time: 2 minutes[EXCLUSIVE Interview] กับ นคร ไชยศรี ผู้ออกแบบกิจกรรมและเทศกาล CCCL Film 2025
หลัง ‘AFTER : Land of Faith’ ร่วมเป็น 1 ใน 8 หนังสั้นประเด็นวิกฤตโลกรวนที่โดดเด่น คัดสรรจากทั่วโลก หนังสั้นเหล่านี้จะช่วยขยายการรับรู้เกี่ยวผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่กว้างขึ้น

ในวันที่การพลัดถิ่น โยกย้ายถิ่นฐาน และการรุกราน กำลังรุกคืบทุกสรรพชีวิตภายใต้สภาวะโลกรวน ในสายตาของคนทำหนังสั้นจากทั่วโลก เราเห็นการปรับตัวแบบใดเกิดขึ้นแล้วบ้าง

Decode
Human & Society,Economy

มหรสพสัญจรรถแห่ ท่วงทำนองอีสานใหม่ที่ชุบหัวใจคนไกลบ้าน

Reading Time: < 1 minuteการเกิดขึ้นของวัฒนธรรมอีสานใหม่ในชื่อ ‘รถแห่’ ที่วัฒนธรรมดนตรีในฐานะส่วนหนึ่งของชาวอีสานพลัดถิ่น ได้รับการต่อยอดผ่านการผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ตลอดจนการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนวัฒนธรรมอีสานในบริบทการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจไทย

นทธร เกตุชู
Play Read,Young Spirit

sie / เธอ / ผู้หยัดยืน

Reading Time: 2 minutesสำหรับผู้หญิงแล้ว ถ้อยคำ คืออารยะขัดขืนมันได้กลายเป็นศัตรูของความกลัวที่เอาไว้ต่อสู้กับพวกเผด็จการ ทำให้ภาษาเป็นอาวุธและการประกาศสงครามทั่วทั้งหุบ หยัดยืน หรือ ‘Resto Qui’ นวนิยายลำดับ 4 ของ Marco Balzano นักเขียนชาวอิตาลี สนใจในรสแห่งถ้อยคำ เพราะเหมือนเป็นจุดเริ่มของประวัติศาสตร์ มันเป็นหน้าหนึ่งในประวัติศาสตร์อิตาลีที่ไม่เพียงขมขื่นแต่เปิดประเด็นให้ผู้อ่านฉุกคิดและตั้งคำถาม อย่างน้อยก็เรื่องคนงาน 26 คนที่ตายระหว่างการทำงาน

ภัทราภรณ์ ศรีทองแท้
Play Read

ลอกคราบ ผลิใบใน “วอลเดน”

Reading Time: 2 minutesคงมีไม่กี่ครั้งในชีวิตที่เราจะตกต่ำถึงขีดสุด ,ขอให้เป็นครั้งเดียว และคงเป็นครั้งนี้ที่โควิดไล่ต้อนเราให้จนมุม ซึ่งธอโร ไม่มีโอกาสแบบนั้น แต่เขาเลือกเองต้อนตัวเองให้จนมุม หวังจะเรียนรู้ในสิ่งที่สมควรจะรู้ ในสภาพที่อับจนและต่ำต้อยพอกัน ต่างกันเพียงแค่…ฉันไม่ได้เลือกเอง!

ภัทราภรณ์ ศรีทองแท้

SLIDER TO GRID • CAPTION