
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Environment
Survive แบบใด ‘ไม่มีคำตอบสำเร็จรูป’ ในโลกที่แปรปรวน
Reading Time: 4 minutesในภาวะที่โลกกำลังหาทาง “รอด” มนุษย์กลับอยู่ใจกลางของเรื่องนี้เพราะ “มันมาถึง” แล้ว และยากจะหนีพ้น และบ่อยครั้งเราก็อาจตกอยู่ในสภาพของผู้ประสบภัยได้โดยง่าย “สัญญาณ”โต้กลับจากธรรมชาติที่ส่งผลต่อเราทุกคน
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
เมื่อเราปลอดภัย ไร้ความกลัว สมองส่วนสร้างสรรค์จะทำงาน
Reading Time: < 1 minuteเรามักพูดกันอยู่เสมอว่า “การแข่งขันคือธรรมชาติของมนุษย์” แต่จริง ๆ แล้วหาได้เป็นแบบนั้น “เราคุ้นเคยกับการดูแลและความปลอดภัย” ความปลอดภัยต่างหากที่ทำให้เราเป็นมนุษย์ หรือเราคุ้นเคยกับรัฐสวัสดิการ มากกว่า ทุนนิยม
50 ปีระบอบถนอม: นายพล สงครามเย็น และประชาธิปไตยแบบไทย ตอนที่ 1
Reading Time: 2 minutesสังคมไทยควรศึกษาบทเรียนจากอดีตให้ถ่องแท้ว่าระบอบอำนาจนิยมมีกลวิธีสืบทอดอำนาจอย่างไร เพื่อรู้เท่าทันและหาทางป้องกันไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยอีกในอนาคต
ชีวิตที่เป็นของเราจนสุดลมหายใจ
Reading Time: < 1 minuteเราจำเป็นต้องช่วยกันทำให้พูดคุยกันถึงความตายเป็นเรื่องธรรมดามากกว่านี้ ความตายเป็นสิ่งสามัญและมีความสำคัญเท่า ๆ กับชีวิต เราต้องยืนยันชีวิตที่เป็นของเรา และยืนยันให้ชีวิตนี้ยังคงเป็นของเราจนสุดลมหายใจอย่างที่เราอยากใช้ …อย่างอ่อนโยน งดงาม และมีศักดิ์ศรี เหมือนชีวิตที่เราใช้มาอย่างดี
…ก่อนหน้าที่ความตายจะปรากฏตัวให้เห็นเลือนราง
GRID • LIST • PAGINATION
วังวน ‘คนสองรุ่น’ ถมเงินบนแปลงข้าวโพด ‘มีกินเพราะข้าวโพด อดตายก็เพราะข้าวโพด’
Reading Time: 5 minutesกว่า 40 ปีของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไทย วังวนชีวิตที่ผูกติดกับหนี้สินของเกษตรกรข้าวโพด แปลงสีน้ำตาลที่ใช้ซ้ำจนไม่อาจเหลือที่ทำกิน และอนาคตของลูกหลาน
“กำจัด” รสเผ็ดซ่าชาลิ้น วัฒนธรรมการกินที่(ไม่)จำกัดแค่ “หมาล่า”
Reading Time: 3 minutesกำจัดอยู่ในตระกูลเดียวกับมะแขว่น เครื่องพริกลาบตัวสำคัญที่คนภาคเหนือรู้จักดี รวมทั้งฮวาเจีย ซึ่งคือตัวการให้รสเผ็ดซ่าชาลิ้นใน “หมาล่า” นั่นเอง เม็ดกำจัดใหญ่กว่ามะแขว่น แต่รสอ่อนเบากว่า เจือกลิ่นหอมอมเปรี้ยวคล้ายเปลือกส้มมากกว่ามะแขว่นและฮวาเจีย
รัฐนาวา สู่ รัฐอากาศยานสิ้นสุดลง เมื่อประตูอากาศยานนั้นเปิดออก
Reading Time: 4 minutesส่วนหนึ่งของใจความสำคัญจากปาฐกถาของ ศ.ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เรื่อง “รัฐอากาศยาน” ในงานดิเรก ทอล์ค เนื่องในโอกาสครบรอบ 70 ปี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2562 ในช่วงเวลาที่สังคมไทยอยู่ภายใต้รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยหลังการเลือกตั้ง 2562 พรรคพลังประชารัฐได้โอกาสจัดตั้งรัฐบาลและเทียบเชิญผู้นำการรัฐประหารขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกสมัย
วรรณาคดี – โชกโชน กล้าแกร่ง แพรวพราว
Reading Time: 2 minutesวรรณาคดีผ่านแว่นตาของ รศ.ดร.บุญเลิศ เป็นการบอกเล่าประสบการณ์การถูกกดขี่ ของผู้หญิงในประเทศโลกที่สาม และเป็นผู้หญิงที่เป็นชนชั้นล่าง ที่ถูกกดขี่ในหลายสนาม ย่อมต่างจาก ความรู้สึกถูกเอาเปรียบ ของคนมีฐานะมีการศึกษา แต่ เป็นเรื่องราวที่สังคมเรายังรับรู้น้อย เมื่อเทียบกับประสบการณ์อันหนักหน่วงที่คนจำนวนมากกำลังแบกอยู่
‘ตุ๊กการช่าง’ สูงวัยนอกระบบยัง’รอซ่อม’ ของช่างซ่อมพัดลมตลอดชีพ
Reading Time: 5 minutesชีวิตที่ไร้วันเกษียณของช่างตุ๊ก ช่างซ่อมพัดลมตลอดชีวิต กับภาพสะท้อนการจัดการสังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ที่ความเหงาและความจนของช่างตุ๊กเป็นเครื่องยืนยัน ว่าสังคมไทยยังคงทำใครต่อใครหล่นหายด้วยความเหลื่อมล้ำนี้
งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลทุกข์
Reading Time: 2 minutesเก่งกิจ กิติเรียงลาภ เล่าถึงสังคมที่ผู้คนขยันทำงานกันอย่างมาก และ “งานคือเงิน เงินคืองาน” นั้นกลับทำให้เงินและงานไม่ค่อย “บันดาลสุข” มากนัก งานกลับกลายเป็นแหล่งที่มาของความทุกข์มากกว่าความสุข ยกเว้นช่วงสัปดาห์แรกของเงินเดือนออกที่เราอาจจะมีความสุขมากหน่อย
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ผังเมืองกับสิทธิที่จะมีส่วนกำหนดเมือง
Reading Time: 3 minutes“the right to the city ไปไกลกว่าเสรีภาพของปัจเจกในการเข้าถึงทรัพยากรเมือง แต่เป็นสิทธิที่จะเปลี่ยนตัวเราเอง ด้วยการเปลี่ยนเมือง” i ประโยคนี้มีความสำคัญในแง่ที่ว่า มนุษย์เรานั้นเปลี่ยนโลกให้สอดคล้องกับความปรารถนาของเราเสมอ แต่เมืองกลับเป็นพื้นที่ที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่เหมือนถูกสาปให้อยู่ เพราะเมืองที่เป็นอยู่ลดทอนความเป็นมนุษย์ของเราไปทุกที
ริชาบ กุมาร ‘ผมแค่อยากเป็นมนุษย์ที่มีความสุขบนโลกใบนี้’
Reading Time: 3 minutesการเดินทางของ ‘ริชาบ กุมาร’ กับความฝันธรรมดาที่แสนพิเศษ “ผมแค่อยากเป็นมนุษย์ที่มีความสุขบนโลกใบนี้”
ลึกสุดใจ ‘หมอ’ กับการลาออกครั้งสุดท้าย ราชการ ‘ไม่ใช่ไม่มั่นคง’ แต่ ‘ระบบ’ สาธารณสุขต่างหากที่ ‘สั่นคลอน’
Reading Time: 4 minutesฟังคำต่อคำของ “หมอ” ด่านหน้าของระบบสาธารณสุขที่สั่นคลอน การลาออกจากระบบราชการของบุคลากรทางการแพทย์ที่ยังไหลไม่หยุด ไม่ใช่เพราะ “ไม่มั่นคง” แต่ลึกไปกว่านั้นคือปัญหาเชิงระบบที่แท้จริงแล้วแก้ไขได้ เพียงแต่ “ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอยู่จริง” จึงจะแก้ปัญหาได้ถูกจุด
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
สูตรบำนาญใหม่ ชัยชนะที่ “CARE” ความเป็นธรรม บทพิสูจน์อุดมคติกับโลกจริงไปด้วยกันได้
Reading Time: 3 minutesการเปลี่ยนแปลงสูตรคำนวณเงินบำนาญผู้ประกันตนเป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญที่ทีมประกันสังคมก้าวหน้าต้องการผลักดัน เพื่อแก้ไขปัญหาเชิงนโยบายของสำนักงานประกันสังคมที่ไม่สอดคล้องกับชีวิตการทำงานของผู้คน ที่ผ่านมา ผมได้รับข้อความจากผู้ประกันตนจำนวนมาก ล้วนแล้วมีแต่ความเจ็บปวด มันยิ่งกว่าโดนปล้น เป็นความเจ็บช้ำของผู้คนที่ผมได้สัมผัสมาด้วยตัวเอง
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ไม่ต้องรอพบกันใหม่ชาติหน้า: เมื่อสัตว์เลี้ยงที่รักจากไป
Reading Time: < 1 minuteโครนนิ่งสัตว์เลี้ยงที่รักจากไป…ในยุคสมัยของการมีลูกน้อยลง การ ‘โคลน’ สัตว์เพื่อให้กลับมาอยู่ด้วยกันอีกครั้งจึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่ท้าทายผู้อ่านให้ขบคิดและตั้งคำถามกับเรื่องนี้อย่างเปิดกว้าง
ห้องเรียนของ“หน้าที่” แต่ไม่มี “สิทธิ” ของพลเมือง
Reading Time: 2 minutesเวทีเสวนา “พลเมือง ประชาธิปไตย และความเป็นธรรมทางสังคม” ที่จัดขึ้นกลางเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา นิ้ง-ธญานี เจริญกูล กลุ่มนักเรียนเลว และ มายมิ้น-ศุกรียา วรรณายุวัฒน์ นิสิตคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตอบเปิดเวทีในทิศทางเดียวกันว่า ความเป็นธรรมคือการที่ทุกคนมีสิทธิ์เท่ากัน ขณะเดียวกันก็ได้รับการคุ้มครองสิทธิ์นั้นเช่นกัน ทั้งสองร่วมเวทีท่ามกลาง “ครู” ในโรงเรียน และมหาวิทยาลัย
ไม่มีพรมวิเศษใน ‘รัก’ ต้องห้าม เหนือดินแดนแห่งปีศาจ
Reading Time: 2 minutesการเดินทางเข้าไปในความใกล้ชิดและซึมซับอย่างเงียบๆ ในจักรวาลแห่งเวทมนตร์ของการ์เซีย มาร์เกซ ปีศาจที่ไม่ใช่ปีศาจที่มีเลือดเนื้อ ไม่ใช่วิญญาณ แต่เป็นระบบของสังคมที่ไม่อณุญาตให้ความรักของบาทหลวงและหญิงสาวดำรงอยู่ได้
สังคมที่แตกร้าว ความฝันผู้นำยังไม่สูญสิ้น
Reading Time: 2 minutesโอบามาเป็นนักเขียนที่เก่งกาจ เขาจึงไม่ต้องจ้างวานนักเขียนรับจ้างมาเขียนให้แบบที่นักการเมืองส่วนใหญ่ทำ ใครที่เคยได้อ่านงานชิ้นก่อนหน้าของเขามาแล้ว อย่าง Dreams From My Father ย่อมประจักษ์ถึงความสามารถทางภาษาและความสันทัดจัดเจนในการเล่าเรื่องของผู้นำคนนี้ได้เป็นอย่างดี