
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Play Read
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Economy
ราคาของ “คนรู้จัก” แรงงาน(สร้างสรรค์)ผู้แลกมาด้วยสัญญาจ้างไม่เป็นธรรม รัฐเมินเฉย
Reading Time: 2 minutesแรงงานสร้างสรรค์ไม่เคยถูกมองเห็นจากภาครัฐ ประสบการณ์ร่วมของการถูกเบียดขับนี้ ทำให้สหภาพแรงงานสร้างสรรค์ แห่งประเทศไทยถือกำเนิดขึ้น
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
สัตว์ไร้บ้าน วงจรที่ไม่มีวันจบ
Reading Time: 2 minutesวิกฤตการณ์สัตว์ไร้บ้านทั้งในอดีตและปัจจุบัน และร่วมไขรหัสวิธีการแก้ไขปัญหานี้ในระยะยาว ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่าย
อวสานเมียจำเป็น “ข่มขืน” ไม่ใช่ความโรแมนติก ล้างค่านิยม ที่สุดของชีวิตไม่ได้ขึ้นอยู่กับ…การมีคู่ แย่งผัวคือหลักชัย
Reading Time: 3 minutes“โดนไปกี่ดอกถึงเสียสติขนาดนี้”
“ยังมีหน้ากลับไปเป็นเมียเขาอีกเหรอ”
“ยังจะกลับไปให้เขาเสียหน้าอีกเหรอ”
De/code ได้มีโอกาสเชิญ ยะหยา ผู้ใช้ทวิตเตอร์และผู้บริโภคที่ต้องการเสพสื่อบันเทิงคุณภาพ และเจ้าของเพจ เขียนบทปลดแอก คนทำงานเบื้องหลังวงการบันเทิงที่ต้องการความเปลี่ยนแปลงมาร่วมกันไขรหัสของปัญหาละครแบบไทย ๆ ที่อยู่คู่กับหน้าจอโทรทัศน์มาช้านาน
ฟ้าบ่กั้น ไวยากรณ์ของคนธรรมดา
Reading Time: 2 minutesเป็นครั้งที่เท่าไร ไม่ได้นับที่ฉันยืนมองฝาไม้มอซอ รุงรังไปด้วยสัมภาระ เป็นอีกครั้งที่ฉัน Remind ถึง ฟ้าบ่กั้น ของลาวคำหอม วรรณกรรมแห่งฤดูกาลของความยากไร้ และการพลัดพรากมาเยือนอีกครั้ง
GRID • LIST • PAGINATION
วิถี Frugalism อยู่ให้ Lean เพราะเราฝันถึงสังคมที่ Clean
Reading Time: 2 minutesวิถีชีวิตที่เรียกว่า Frugality หรือแนวคิดที่พอจะเรียกได้ว่า “ประหยัดสูง ประโยชน์สุด” โดยบริษัทวิจัยตลาดผู้ทรงอิทธิพลอย่าง Insider Intelligence ได้วิเคราะห์ไว้ว่าวิถีแบบ The Frugalist กลุ่มใหญ่ที่สุดคือคน Gen Z เห็นชัดที่สุดในเรื่องของแฟชั่น พวกเขาค่อนข้างมีวินัยในการใช้จ่าย มักตัดสินใจซื้อสินค้าในราคาที่สมเหตุสมผลที่มีตัวเลือกมากมายในช่องทางช็อปปิ้งออนไลน์ นอกจากนี้ยังคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม Gen Z จึงซื้อเสื้อผ้าใหม่น้อยลง แต่หันไปหาเสื้อผ้ามือสอง หรือเลือกซื้อสินค้าที่คุ้มค่าและยั่งยืนมากขึ้น
ความรุนแรงในนามของ ’การฝึกฝน’ แผลฝังลึกของสองนักกีฬาเทควันโดเยาวชน
Reading Time: 3 minutesเมื่อเคล็ดลับความสำเร็จคือความรุนแรงนอกสนามที่มาในคราบของการฝึกซ้อม De/code พูดคุยกับสองนักกีฬาเทควันโดเยาวชนบนเส้นทางการล่าเหรียญที่เต็มไปด้วยความเจ็บปวดกายใจที่ไม่ค่อยมีใครได้ยิน หลังมีข่าวในวงการนักเตะว่า มีการใช้ท่อ PVC ฟาดขาจนม่วงช้ำเพื่อหวังปั้นดินให้เป็นดาว …อีกครั้ง
เราต่างถูกทำให้เป็นสบู่ก้อนเล็กที่ถูกห่อปลีกด้วยพลาสติกแห่งความปัจเจกอันเป็นบรรจุภัณฑ์ของโลกทุนนิยม
Reading Time: 3 minutesภายใต้โลกทุนนิยมเรานั้นทวบทวนและตบตีภายในหัวซ้ำแล้วซ้ำเล่าว่าเราจะไหลตามมันไป เพื่อชีวิตที่อาจจะง่ายกว่า หรือจะเหวี่ยงแขนออกไปสักหมัด ต่อต้านและยืนหยัดระบบอันเฮงซวย
120 บาทที่เคยคุ้มค่า (ลด)ค่ารอบไรเดอร์หนนี้เหลือคุ้มทุน 15 บาท คุ้มที่ว่า คุ้มใคร?
Reading Time: 4 minutesส่องภาระที่ไรเดอร์ต้องแบกในชื่อของพาร์ทเนอร์-อาชีพอิสระ-คนส่งของ ในวันที่ค่ารอบเหลือเพียง 15 บาท ทางออกและกับดักของอาชีพไรเดอร์แพลตฟอร์ม กับการคำนวณจุดคุ้มทุนของบริษัทแพลตฟอร์ม
คุ้มทุนที่ว่าคือคุ้มทุนลูกค้า ร้านค้า ไรเดอร์ หรือเพียงแค่แพลตฟอร์ม
เด็กใต้สมองไหลไปมาเลเซีย ความรู้ที่ไม่ผูกขาดด้วยภาษาชาติ
Reading Time: 2 minutesพูดคุยกับ อัฟนาน เล็มโดย อดีตนักเรียนประถมศึกษาจากจังหวัดสตูล ที่มีโอกาสไปเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ประเทศมาเลเซีย ด้วยทุนรัฐบาลมาเลเซีย ถึงแม้จะได้ทุนหรือไม่ก็ตาม อัฟนานก็จะไปเรียนที่มาเลเซียอยู่ดี
ที่บริษัทแห่งนี้มีตอนจบอย่างที่คุณต้องการ : ความตายที่ (สามารถ) วาดไว้ เช่นเดียวกับการมีชีวิตอยู่
Reading Time: 3 minutesเด็กน้อยที่หลงใหลความตายในวันนั้นก็กลายมาเป็นผู้ใหญ่ที่พยายามหาคำปรึกษาและวางแผนความตายให้ได้มากที่สุดในวันนี้ แต่ก็อดคิดไม่ได้ว่าแท้จริงแล้ว ‘ความตายที่วาดไว้’ จะเป็นได้แค่ความฝันหรือเปล่า มันจะไม่มีทางเลือกสำหรับตอนสุดท้ายของชีวิตเลยหรือ
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ความมั่นคงแบบองค์ลงของรัฐไทย
Reading Time: 3 minutesหลังๆ มานี้เราพบเจอรายการข่าวที่นำเสนอเรื่องราวของคนทรง/ร่างทรง หรือ “ผู้วิเศษ” ที่มีพลังเหนือปุถุชนทั่วไปได้ค่อนข้างบ่อย… แน่นอนว่า เรื่องแบบนี้เรียกเรตติ้งได้ดี หลังรายการจบก็ยังเป็นกระแสต่อเนื่องในโซเชียลมีเดีย มีโพสต์ที่ทั้งชื่นชมและวิจารณ์ รวมถึง “ผู้วิเศษ” บางคนกลายเป็น “มีม” ที่เอาไปล้อหยอกกับเรื่องอื่นๆ ต่อได้อีก
กลับไปอ่านงานคลาสสิค “การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475”
Reading Time: 2 minutesเมื่อรศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีร กลับไปอ่านหนังสือเรื่อง “การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475” ของศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
นักวิชาการปรัชญาและศาสนามอง พระ #เดินทะลุฟ้า ถูกจับสึก เพราะการเมือง ไม่ใช่เหตุผลไร้ต้นสังกัด
Reading Time: < 1 minuteจากพระแครอท พระปราศรัย พระเดินทะลุฟ้า พระขอบิณฑบาตรนักโทษคดี 112 จนถึงพระถูกจับสึก วันที่วงการพระสงฆ์ถูกห้ามยุ่งการเมือง?
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
มิใช่การต่อสู้ครั้งสุดท้าย III รวมกวีนิพนธ์แด่เพื่อนเมียนมา
Reading Time: 2 minutesเป็นรวมกวีนิพนธ์ที่พูดถึงเหตุการณ์ในเมียนมาได้ร่วมสมัย อย่างพยายามเข้าอกเข้าใจ และอบอวลไปด้วยสำนึกร่วมแห่งความเป็นมนุษย์มากที่สุด
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
แด่ประชาธิปไตยผืนดิน
Reading Time: 3 minutesเผด็จการกลืนกินชีวิต เมื่อการ ‘ปิดล้อมสาธารณะสมบัติ’ กลายวิถีของการพัฒนา แย่งชิงที่ดิน ชีวิต และเสรีภาพเหนือดินแดนที่พวกเขาหวงแหนโดยรัฐเสียเอง ความยากจนและหิวโหยเพิ่มขึ้นกลายเป็นความเสียหายต่อระบบนิเวศ และผู้คนถูกทอดทิ้งและต้องทิ้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ต่างจังหวัด : อำนาจและการควบคุม
Reading Time: 2 minutesท้องถิ่นจะถูกมองให้เป็นอะไรที่หยุดนิ่ง ทั้งที่จริง ๆ แล้วในท้องถิ่นแต่ละพื้นที่ก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา หากมีการกระจายอำนาจก็จะทำให้แต่ละพื้นที่สามารถดูแล จัดการ บริหารแต่ละภาคส่วนด้วยตนเองได้
สู่ความเวิ้งว้างอันไกลโพ้น เรื่องราววิทยาศาสตร์ในประเทศที่การประกาศทะยานสู่ดวงจันทร์นั้นน่าชวนหัว
Reading Time: 2 minutesวิทยาศาสตร์ไทยจะดีได้ ไม่ใช่แค่การปฏิรูปภายในวงการเท่านั้น แต่การปฏิรูปการเมืองตามวิถีประชาธิปไตยก็เป็นเรื่องที่ต้องทำควบคู่ไปด้วยกัน
หลัง COP29 รัฐไทยก้าวไม่ทันกับความแปรปรวนของโลก
Reading Time: 3 minutesชวนหาคำตอบกับความสูญเสียที่ประเทศไทยได้รับจากภัยพิบัติในปีที่ผ่านมา ประเทศไทยอยู่ในส่วนใดของกองทุนช่วยเหลือ และไม่ว่าจะได้รับเงินสนับสนุนด้านการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศหรือไม่ วันนี้รัฐบาลไทยควรเร่งพัฒนาสิ่งใดเพื่อพาประเทศไปสู่ข้อตกลงทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริง
กระแสล้มเลือกตั้ง: จากโลกถึงไทย
Reading Time: < 1 minuteตุการณ์ที่บราซิลถือเป็นสัญญาณและภาพสะท้อนการเมืองโลกในยุคปัจจุบันที่มีความแตกแยก แบ่งขั้วสูง (deep polarization) มีความผันผวนไม่แน่นอน และขาดฉันทามติร่วมกันแม้แต่กฎกติกาพื้นฐานที่ทุกฝ่ายยอมรับ