seeddemo - Decode

SLIDER • HEADLINE

GRID • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Play Read

อ่านประวัติศาสตร์และการเมืองไทยผ่านหนังสือ 9 เล่ม

Reading Time: 2 minutesปี 2567 เป็นอีกปีที่หนังสือด้านการเมืองและประวัติศาสตร์ไทยทยอยเผยแพร่ออกมาอย่างต่อเนื่อง งานที่ผู้เขียนหยิบมาแนะนำในบทความนี้มีทั้งหนังสือแนววิชาการเข้มข้น วิทยานิพน์ระดับปริญญาโทและเอกที่ปรับปรุงแก้ไขมาเป็นหนังสือ งานวิจัยเล่มเขื่อง หนังสือรวมบทความคลาสสิคที่นำมารวมเล่มตีพิมพ์ใหม่ รวมถึงงานกราฟฟิคโนเวลที่อ่านสนุกเพลิดเพลิน

GRID • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Columnist

16 ชม./วัน ‘มันไม่ปกติ’ สวัสดิการบุคลากรสาธารณสุขดีกว่านี้ได้

Reading Time: < 1 minuteบุคลากรด้านการแพทย์ แพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล นักเทคนิคการแพทย์ ฯลฯ  ในไทยอาจทำงานสูงสุดถึง 16 ชั่วโมงต่อวัน หรืออาจสูงถึง สัปดาห์ละ 100 ชั่วโมง 

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Human & Society,News

สืบจากแฟ้มตลาดวรรณกรรมสืบสวน ทำไมถึงเป็นขาขึ้น! ‘จริง ๆ คนไทยเป็นนักสืบในตัว’ ในมุมมอง ‘พิมพ์ชนก ศิริวรรณนาวี’

Reading Time: 2 minutesคนไทยเป็นนักสืบในตัว หนึ่งในเหตุผลที่ดิว – พิมพ์ชนก ศิริวรรณนาวี บรรณาธิการบริหาร กลุ่ม Literature มองว่ามีส่วนที่ทำให้ตลาดวรรณกรรมสืบสวน สยองขวัญเติบโตอย่างรวดเร็ว เธอสำทับด้วยคำว่า “ตลาดฟู”

Decode

GRID • LIST • PAGINATION

ไม่ว่าใครหรือช่วงเวลาใด เราต่างเคยออกเดินทางตามเสียงของตัวเอง

Reading Time: 2 minutesชายผู้ออกเดินทางตามเสียงของตัวเอง ของ สะอาด กลับซ้อนภาพของใครบางคน บ้างก็สนิท บ้างก็ห่างเหิน แต่ล้วนเป็นคนที่พบเจอในชีวิตประจำวัน และหลายครั้งคราบน้ำหมึกในช่องสี่เหลี่ยมบนกระดาษของเขา ก็มีภาพของคนอ่านบนแอ่งน้ำสะท้อนอยู่

“ปรากฏการณ์กำนันนก” ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของรัฐกับผู้มีอิทธิพลในสังคมไทย

Reading Time: < 1 minuteบรรดาผู้มีอิทธิพลเหล่านี้ไม่ใช่เจ้าหน้าที่รัฐ แต่ใช้ความเข็มแข็งเด็ดขาดและบารมีส่วนตัวในการทำให้ชาวบ้านเคารพยำเกรงรวมถึงเชื่อถือศรัทธา กล่าวง่าย ๆ ว่าผู้มีอิทธิพลใช้ทั้งพระเดชและพระคุณในการสร้างอิทธิพลของตนเองที่อยู่เหนือการกำกับควบคุมของรัฐขึ้นมา 

ทำอะไรสักอย่างที่ตรงข้ามกับลิงในสมอง

Reading Time: 2 minutesในสมองของคนจะมี “ศูนย์กำกับความกลัว” อยู่ อะมิกดาลา ที่อยู่ในศูนย์นั้นจะเป็นด่านที่ทุกการกระทำของเราที่เราได้กลิ่น ได้ยิน สัมผัส หรือนึกคิด จะผ่านด่านนี้ ซึ่งเมื่ออะมิกดาลาจับได้ว่ามีภัยคุกคาม ก็จะส่งสัญญาณไปยัง ไฮโปธาลามัส และต่อมหมวกไต ซึ่งจะปล่อยฮอร์โมนและสัญญาณทางสมองไปยังระบบประสาทซิมพาเธติก เพื่อทำให้หัวใจเต้นเร็ว และหายใจแรงขึ้น ซึ่งกลไกเหล่านี้ ก็เพื่อทำให้ร่างกายเข้าสู่ภาวะเอาตัวรอด

คิดถึงวีรชนคนสามัญ: 50 ปี 14 ตุลา

Reading Time: 3 minutes“แม่ผมมีร้านขายของในกรมทหารที่สนามบินน้ำ ผมช่วยแม่ขายของ” ประเวศเล่า “ช่วงนั้นทหารเขาปิดไม่ให้คนเข้าออก แล้วก่อนหน้านั้นมันก็มีการชุมนุมมาเรื่อย ผมอยากไปแต่ก็ไปไม่ได้เพราะเขาไม่ให้ออกจากค่ายทหาร พอมาถึงวันนั้นมันเป็นวันอาทิตย์ วันหยุด ผมแอบมุดรั้วหนีออกไปจนได้ ก็ไม่รู้อะไรมันดลใจให้ออกไป” แล้วประเวศก็ยกเหตุของสิ่งที่เกิดขึ้นกับเขาในวันนั้นให้เป็นเรื่องของการที่ “คนมันจะโดนยิงน่ะ”

วิศวกรผู้ถูกซ้อมทรมาน ลุกขึ้นสู้กับอำนาจรัฐ จนกว่าความยุติธรรมจะบังเกิด  

Reading Time: 3 minutesอรรถสิทธิ์ย้อนกลับไปเล่าถึงความทรงจำในคืนวันดังกล่าวที่เขาถูกซ้อมทรมาน เขาบอกว่านอกจากพ.ต.ท. พีรรัฐ โยมา ที่เป็นคนทำร้ายร่างกายเขา ตำรวจคนอื่นๆ กลับเลือกปฏิบัติตามคำสั่งและเลือกที่จะไม่ยับยั้งเหตุการณ์ทั้งที่รู้ว่าเป็นสิ่งที่ผิด พวกเขาเกรงกลัวอำนาจผู้บังคับบัญชา มากกว่าความถูกต้องตามหลักกฎหมายและหลักมนุษยธรรม อรรถสิทธิ์เป็นหนึ่งในผู้ถูกซ้อมทรมาน ที่ลุกขึ้นมาเรียกร้องความเป็นธรรม และเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการจัดทำพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ โดยการให้ข้อมูล  แต่ในสังคมไทยยังมีผู้ถูกซ้อมทรมานอีกนับหลายราย ที่ไม่มีโอกาสได้ออกมาเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ตัวเอง ด้วยความหวาดกลัวที่พวกเขาต้องเผชิญ

1 55 56 57 58 59 204

GRID • CAPTION

GRID • CARD • HIDE SUMMARY

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Play Read,Economy

ฝันสลายใต้เครื่องหมาย “การพัฒนาอีอีซี”

Reading Time: 3 minutes‘ลุงเคยพาออกทะเลไหม ?’ เราถาม
หลานชายในวัยประถมของลุงละม่อม ตอบ ‘เคยครับ’

แล้วโตขึ้นอยากทำประมงไหม เราถาม
หลานชายในวัยประถมของลุงละม่อม ไม่ตอบ

วิภาพร วัฒนวิทย์
Play Read,Columnist

ถ้าวันหนึ่งฉันตาย? สิ่งสมมุติในไดอารี่

Reading Time: 2 minutesนิยายเกาหลีเรื่องนี้ผู้เขียน (อีกยองเฮ)ได้แรงบันดาลใจจากเหตุการณ์จริงของผู้เขียนที่ฟังข่าวการตายของเด็กหนุ่มคนหนึ่งที่เสียชีวิตอย่างกะทันหัน เธอไม่ได้รู้จักเด็กหนุ่มคนนั้นเป็นการส่วนตัว แต่ความเศร้านั้นคาใจอยู่หลายวันจึงเริ่มต้นเขียนนิยายเรื่องนี้ นี่คือจุดเริ่มต้นของนิยายที่เริ่มต้นจากจุดจบ

จันจิรา ทาใบยา
Inequality,Welfare state

วิ่งไปไม่ถึงฝัน ในดินแดนแสนล้านการเลือกปฏิบัติ มันฆ่าความฝันเธอ

Reading Time: 2 minutesมันโคตรไม่แฟร์ ไม่ยุติธรรมเลย แต่มันก็อยู่ในจุดที่ว่าเราตัวเล็กเกินไป ที่จะไปต่อสู้ หรือทำอะไรไม่ได้

ณฐาภพ สังเกตุ

GRID • CONTENT

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

กำแพงหรือประตูปิดตาย ก่อนไทยจะไปถึงเป้าหมาย ‘เจ้าสมุทร’ ความเสี่ยงใบเหลืองค้ามนุษย์ ในเกลียวคลื่น(ร่าง)แก้ไขกฎหมายประมง

Reading Time: 4 minutesแม้หลายปีที่ผ่านมาจะมีความพยายามของประเทศไทยในการปรับปรุงกฎหมายประมงให้เทียบเท่ามาตรฐานกลเพื่อยกระดับสภาพการทำงานของแรงงาน อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติยังปรากฏความท้าทายในการนำหลักการทางกฎหมายไปบังคับใช้ จากความฉุกละหุก เร่งรีบในการออกกฎหมาย อีกทั้งขาดเสียงรอบด้านในกิจการประมงโดยเฉพาะเสียงของแรงงานในการร่วมออกแบบชีวิตการทำงานของพวกเขา และในวันนี้ 8 ร่างแก้ไขกฎหมายประมงที่กำลังมีข้อกังวลถึงความเสี่ยงด้านการปลดล็อกอุปกรณ์จับปลาทำลายล้างและการค้าทาสสมัยใหม่
หรือไทยกำลังไฟเขียวให้การค้าทาสสมัยใหม่ แต่เสี่ยงโดนใบเหลืองจากสหภาพยุโรป?

KEETA วัฒนธรรมอาหารจากไทยส่งไปไกลถึงNASA

Reading Time: < 1 minuteNASA เปิดรับไอเดียพัฒนาอาหารอวกาศ โดยได้ประกาศชื่อทีมที่เข้ารอบด้วยกันทั้งหมด 28 ทีม หนึ่งในนั้นคือทีม KEETA จากประเทศไทย

เปิดออเดอร์ 9 พรรคการเมือง สิทธิสวัสดิการไรเดอร์ที่เป็นไปได้

Reading Time: 4 minutes เตรียมตัวนับถอยหลังเข้าสู่เลือกตั้งเพื่อคน 99% แต่หนึ่งในอาชีพที่ว่ากันว่าเป็นอาชีพแห่งอนาคตอย่าง ‘ไรเดอร์’ วันนี้ยังไม่ถูกคุ้มครองหรือมองในฐานะแรงงาน อุบัติเหตุ การดูถูก คุกคาม ยังคงเกิดขึ้นกับพวกเขาแบบรายวัน เพราะพวกเขามีโต๊ะทำงานเป็นมอเตอร์ไซค์ มีออฟฟิศเป็นท้องถนน และมีความเสี่ยงถึงชีวิตเป็นโบนัส

MIX

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Explain,Human & Society,Life Matters

ความเป็นอื่นในเกมฟุตบอล ความตายของจอร์จ ฟลอยด์

Reading Time: < 1 minuteเหตุเกิดจากการหยุดพักเกมฟุตบอลระดับชาติ ระหว่างทีมเดน บอสช์และทีมเอ็กเซลซีเออร์ หลังจากมีเสียงล้อเลียนคล้ายเสียงลิงดังมาจากกองเชียร์ฝั่งเดนบอสช์ รวมทั้งร้องเพลงเหยียดเชื้อชาติ “อาหมัด เมนเดส มอเรรา” ผู้เล่นผิวสีทีมเอ็กเซลซีเออร์

วิรดา แซ่ลิ่ม

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

เจเนอเรชั่น “เทรด” ซื้อประสบการณ์เสี่ยง “เขียวติดแดง จนติดดอย”

Reading Time: 3 minutesในปี 2021 ดูเหมือน “การลงทุนทางการเงิน” จะไม่ใช้เรื่องในอนาคตของบรรดาคนหนุ่มสาวสมัยนี้อีกแล้ว แต่สำหรับหลายคนนี่กลับเป็นเรื่องราวในปัจจุบันที่พวกเขาตั้งใจศึกษาและเสี่ยงที่จะเรียนรู้ ด้วยตระหนักว่า “ดอกเบี้ยเงินฝาก” อาจไม่ได้เป็นหนทางหย่นระยะความมั่นคงในชีวิตได้อีกต่อไป

หว่านเมล็ดพันธุ์แห่งการต่อสู้จากผืนนาสู่จานข้าว

Reading Time: 3 minutesหนังสือที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตแทบในทุกตัวอักษร ลมหายใจ และอาหารบนจานข้าว การเริ่มต้นด้วยหลักการ หลักฐานเมล็ดพันธุ์ทางความคิด ขบวนการต่อสู้ และการเมืองเกษตรนิเวศ  

โลกสองใบของนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ ‘วัชรินทร์ อันเวช’ ชีวิตเป็นวิทยาศาสตร์ตั้งแต่เกิดจนตาย

Reading Time: 2 minutesนอกจากนักวิทยาศาสตร์แล้ว อีกหนึ่งบทบาทที่จะขาดไปไม่ได้เลยในเรื่องราวของวิทยาศาสตร์ นั่นก็คือ “นักสื่อสารวิทยาศาสตร์” ผู้ทำหน้าที่แปลงสาส์นจากนักวิทยาศาสตร์สู่คนทั่วไป

เรียกร้อง ‘บริษัทแพลตฟอร์ม’ จ่ายค่าเสี่ยงภัย-ฉีดวัคซีน Covid-19 ให้คนทำงาน อย่าฉวยโอกาสขึ้นค่าบริการ

Reading Time: < 1 minuteสถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม (JELI) ออกแถลงการณ์เรียกร้องให้บริษัทแพลตฟอร์มต่างๆ ที่ถูกยกย่องว่าเป็น “ผู้สร้างโอกาสทางอาชีพ” ในช่วงการระบาดของโควิด-19 ดูแลและคุ้มครองแรงงานที่ทำงานให้ในช่วงการระบาดรอบใหม่ปี 2564 โดยขอให้บริษัทแพลตฟอร์มเหล่านั้น จ่ายค่าเสี่ยงภัย ฉีดวัคซีนผ้องกันโรคให้กับคนทำงาน รวมถึงไม่ฉวยโอกาสขึ้นราคาบริการ

SLIDER • HERO

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

Sustainability

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Crack Politics

สงครามกับความรัก ในแนวรบยูเครน

Reading Time: 3 minutesมีหญิงไทยอย่างน้อย 21 คน ตอนนี้ที่ตัดสินใจอาศัยอยู่ในยูเครนต่อไป ท่ามกลางสภาวะของสงคราม ที่พวกเธอมิอาจละทิ้งครอบครัวไปได้

Play Read

ความไม่แน่นอน = ความไม่แน่นอน

Reading Time: 2 minutesเลือก Same as Ever จิตวิทยาเอาชนะอนาคต ไม่ใช่เพราะอยากจะเอาชนะอนาคต แต่เลือกเพราะคำโปรยปกหลังหนังสือ “การทำนายอนาคตเป็นเรื่องยาก เหตุการณ์สำคัญที่เปลี่ยนอนาคตมักทำนายล่วงหน้าไม่ได้ ดังนั้น เราควรจะตั้งคำถามใหม่ดีกว่าว่าอะไรจะยังคงเหมือนเดิมในอีกสิบปีข้างหน้า…”

SLIDER • CARD

Welfare state

ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง

Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Sustainability,Backpack Journalist,Documentary,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Economy,Human & Society

สัญญาเช่าสุดท้าย “ไม่เอา พอแล้ว ห้างเต็มไปหมดแล้ว” บนรอยปริแตกของสามย่าน

Reading Time: 3 minutesปรากฎการณ์ Gentrification ที่แทนที่ไลฟ์สไตล์ของคนจนเมืองในที่ดินจุฬาด้วยกลิ่นของผู้มากรากดี รุนแรงถึงขั้นล้มศรัทธาของชุมชนที่มีต่อศาลเจ้าแม่ทับทิบด้วยคอนโด

ธเนศ แสงทองศรีกมล
New World Order,Play Read

นักโทษทางภูมิศาสตร์ Made by China, America First

Reading Time: 2 minutesไม่ว่าพี่เบิ้ม จะไปที่ไหน ก็มักจะเหนี่ยวรั้งตัวเองไว้ด้วยความหวาดระแวง เร้าสัญชาตญาณของแย่งชิงที่ติดตัวมาแต่ดั้งเดิม แม้ว่าจะหลุดพ้นจากโซ่ตรวนของแรงโน้มถ่วง แต่ก็ถูกจองจำด้วยภูมิศาสตร์ มันคือพันธนาการที่นิยามชาติและสามารถเป็นอะไรได้อีกในระเบียบโลกใหม่ และเป็นพันธนาการที่ผู้นำโลกอย่างจีนและอเมริกาพยายามจะดิ้นให้หลุด บางฉากจึงดำเนินต่อไปในปริศนาธรรม Wherever you go, there you are. แม้ Tim Marshall จะตั้งชื่อหนังสือ Prisoners of Geography แต่ในสำนวนแปลของ คุณากร วาณิชย์วิรุฬห์ หยั่งรากไปถึงที่ที่เราอยู่คือที่ที่หล่อหลอมเรามา ฉันนึกตลกกลับหัวกลับหาง ที่ใดมีพี่เบิ้ม ที่นั่นมักเป็นอื่น ไม่ลงรอย มันคอยกำหนดโฉมหน้าของสงคราม อำนาจ การเมือง รวมถึงพัฒนาการทางสังคมของคนกลุ่มต่าง ๆ บัดนี้พี่เบิ้มได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเกือบทุกส่วนของโลก อาจดูเหมือนว่าเทคโนโลยีเอาชนะระยะห่างระหว่างพื้นที่และเวลา ก็อย่าลืมว่า ผืนดินที่เราพำนัก ทำงาน และเลี้ยงดูลูกหลานนั้นเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมและทางเลือกของผู้นำโลกบนดาวเคราะห์สีน้ำเงิน ลิขิตชะตาชีวิตด้วยแม่น้ำ เทือกเขา ทะเลทราย ทะเลสาบ และท้องทะเล เหมือนปกหลังแห่งยุคสมัยของการขับเคี่ยวชิงดีในดินแดนอันไกลโพ้น   เพราะ ที่ราบ รัสเซียจึงแข็งกร้าว เพราะ ขุนเขา จีนและอินเดียจึงบาดหมาง เพราะ […]

ภัทราภรณ์ ศรีทองแท้
Play Read,Sustainability

The Lost Forest เกิดขึ้น กินอยู่ สูญพันธุ์ไป

Reading Time: 3 minutesเพราะธรรมชาติเป็นของฟรีเสมอในสายตามนุษย์ เมื่อคิดมูลค่าออกมาแล้วพบว่า จริง ๆแล้ว แต่ละปีธรรมชาติให้ของฟรี คิดเป็นเงินประมาณ 33 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ขณะที่ผลผลิตมวลรวมที่มนุษย์จากทุกประเทศทั่วโลกพยายามสร้างขึ้นมานั้น มีมูลค่าเพียง 18 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ น้อยกว่าที่ธรรมชาติให้มนุษย์เสียอีก

ภัทราภรณ์ ศรีทองแท้
Crack Politics

ประชาธิปไตยที่(ไม่)ตั้งมั่นกับสามคำถามของคนรุ่นหลัง

Reading Time: < 1 minuteทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ์ทางการเมืองหรือสังคมซึ่งสะท้อนความไม่ปกติ ในสังคมไทย ตัวผมเองมักจะมีคำถามอยู่เสมอว่า เราจะอธิบายเรื่องเหล่านี้ ให้คนรุ่นถัดไป เข้าใจได้อย่างไร เป็นภาระหน้าที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญเหมือนกัน ไม่ใช่เพียงแค่ในฐานะคนที่สอนหนังสือในมหาวิทยาลัย แต่ในฐานะคนที่อยู่ในสังคม เพราะมันก็ความยากในการที่จะอธิบายสิ่งหนึ่ง ที่เคยเป็นเรื่องที่คนรุ่นก่อนรู้สึกว่าปกติสามารถทำได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ไทย ในปี 2567 และการยุบพรรคก้าวไกล

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ขอบคุณภาพ Kowit Boondham นักข่าวไทยพีบีเอส Environment

กกโศก นอกสายตารัฐไทย

Reading Time: 4 minutes“เหนือสุดเวียงเจียงใหม่ ยิ่งใหญ่ดอยผ้าห่มปก แม่น้ำกกแหล่งชีวิต แต่วันนี้แม่น้ำกกกำลังเป็นโรคร้ายและต้องการหมอเฉพาะทางมารักษา แต่ฮักษาน้ำกกไว้ไม่ได้ ลูกหลานก็ไร้ซึ่งการเยียวยา” จิรภัทร กันธิยาใจ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 14 ต.ท่าตอน อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ กล่าวถึงแม่น้ำกกในคำขวัญประจำอำเภอแม่อาย ที่วันนี้แหล่งชีวิตกลายเป็นแหล่งปนเปื้อนสารพิษ แม่น้ำกกเป็นสายน้ำสำคัญของภาคเหนือประเทศไทย มีต้นกำเนิดจากภูเขาในรัฐฉาน ประเทศเมียนมา ผ่านเข้าประเทศไทยที่อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ผ่านตัวเมืองเชียงราย ก่อนไหลลงแม่น้ำโขง ที่อำเภอเชียงแสน แต่วันนี้น้ำกกเปลี่ยนไป จากที่เคยใสกลายเป็นขุ่น ปลาในลำน้ำมีแผลพุพอง ชาวบ้านในพื้นที่ต่างกังวลถึงน้ำที่ใช้สอยมาจากแม่น้ำกกว่าจะมีการปนเปื้อน ส่งผลต่อการเกษตร การท่องเที่ยว และส่งผลกระทบอย่างหนักต่อชีวิต ในวันที่ข้อมูลยังไม่มากพอ หากภาครัฐยังรู้ไม่มากพอถึงสายพิษในสายน้ำและไม่รีบหาทางแก้ไขโดยเร็ว สิ่งที่เรารู้ได้ว่าจะเกิดขึ้นแน่ ๆ คือการตายผ่อนส่งของประชาชนที่ใช้ประโยชน์จากลุ่มน้ำกก ที่กระทรวงสาธารณสุขและเอกสารจากสำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษเชียงใหม่ที่ 1 (สคพ. ที่ 1) ระบุความเสี่ยง ‘โรคไข้ดำ’ ของประชาชนที่มีสาเหตุมาจากการได้รับสารหนูสะสมในร่างกายปริมาณมาก โดยที่รัฐบาลยังคงให้ประชาชนต้องอยู่กับความเสี่ยงพร้อมไปกับการนับถอยหลังเผชิญช่วงเวลาอุทกภัย ที่พัดพาให้สารมลพิษอยู่ใกล้ตัวเพิ่มมากขึ้นในทุกวัน ทางออกจากวิกฤติมลพิษข้ามพรมแดนครั้งนี้ จำเป็นต้องยกระดับขึ้นสู่การเจรจาหลายฝ่ายระหว่างประเทศ เมื่อเหตุการณ์สายน้ำเปื้อนสายพิษไม่ใช่แค่เรื่องของประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่เป็นเรื่องสำคัญระดับภูมิภาค 3 เดือนผ่านไป เรายัง ‘รู้น้อย’ เกินไปจากมลพิษข้ามแดน […]

Decode

SLIDER TO GRID • CAPTION