
SLIDER • HEADLINE
GRID • HERO
Welfare state
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
Sustainability
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
Gender & Sexuality
บิวตี้ พริวิเลจ สิทธิพิเศษที่ไม่หายไปไหน
Reading Time: 2 minutesBeauty Privilges มงกุฎที่ไม่ได้มีเป็นชิ้นส่วน แต่เป็นการยกย่องบุคคลที่มีความสวยตามคติ แล้วบุคคลเหล่านั้นจะได้สวมมงกุฎนี้ไปโดยปริยาย
GRID • CARD
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
แรงงานแพลตฟอร์มหญิง: เจองานไม่ตรงปก ถูกคุกคาม ไร้อำนาจต่อรอง และข้อท้าทายในการรวมกลุ่ม
Reading Time: 2 minutesเปิดชีวิตคนงานแพลตฟอร์มหญิง ค่าแรงลดเพราะตลาดแข่งขันสูง แถมไม่มี/ไม่รู้รายละเอียดสัญญาจ้างงาน และแบกต้นทุนการทำงานเองทุกอย่าง เจอลูกค้าไม่ตรงปก-คุกคามทางเพศ แต่เรียกร้องอะไรไม่ได้ ต้องพึ่งพากันเอง เชื่อการรวมกลุ่มสร้างอำนาจต่อรองสิทธิแรงงานได้ ไม่สู้เพียงลำพัง
คิมจียอง เกิดปี 82: อะไรคือดอกผลของการเป็นแม่ และผู้หญิงในสังคมชายเป็นใหญ่
Reading Time: 3 minutesกลางดึกเดือน มิ.ย.65 ระหว่างนอนเจ็บท้องคลอดลูกที่โรงพยาบาลคนเดียวนานเกือบ 10 ชั่วโมง ความคิดหนึ่งที่ผุดขึ้นมาในหัวซ้ำๆ และย้ำว่าเออมันจริงๆ นะ คือ “ดีนะที่ลูกเป็นผู้ชาย จะได้ไม่ต้องมาโคตรเจ็บตอนจะคลอดเหมือนเรา” ไม่รู้หรอกว่าความคิดนี้บอกว่าเราเป็นคนยังไง ใช่คนที่โปรความเป็นชายหรือเปล่า เพราะรู้ว่าเป็นผู้ชายแล้วจะได้อะไรบ้าง ไม่ต้องเจออะไรบ้าง หรือจริงๆ แล้วมองเห็นว่าระหว่าง 2 เพศนี้มันมีบางอย่างที่เหลื่อมล้ำ ถูกทำให้ไม่เข้าใจ ถูกด้อยค่า ลดคุณค่ากันอย่างไร
จับพิรุธ! ขุดร่องน้ำอ่าวกุ้ง ร่องน้ำ(ทิพย์)?
Reading Time: 4 minutesDe/code เดินทางลงพื้นที่บ้านอ่าวกุ้ง จ.ภูเก็ต เพื่อจับตาและหาข้อเท็จจริง กรณีโครงการขุดร่องน้ำอ่าวกุ้ง (ท่าเล) ที่กำลังจะกระทบวิถีชาวประมง และแหล่งปะการังที่สำคัญของพื้นที่
GRID • LIST • PAGINATION
‘สิ้นเสียงปืน’ ถอดรหัสความรุนแรงในสังคมไทย บนทางแพร่ง ‘สันติวิธี’ อันพร่าเลือน
Reading Time: 4 minutesต้องมองแนวทางสันติวิธีให้เป็นมากกว่ากลยุทธ์ในการชุมนุม จะรีบเร่งหรือผ่อนแรงไม่ใช่ปัญหา หากแต่ต้องมองระยะยาว ต้องเป็นการต่อสู้ที่สั่งสมพลังจากการรวมกลุ่มที่กว้างขวางขึ้น อยู่บนยุทธศาสตร์ที่วางแผนว่าจะทำอะไรต่อไป เพื่อกระชากพรมออกจากเท้าผู้คนให้ได้
เอลนีโญมา ‘ถ้าไม่มีน้ำ เศรษฐกิจก็จบ’
Reading Time: 3 minutesเพราะภาคการเกษตรในประเทศไทยยังคงเป็นโมเดลรองจากอุตสาหกรรม และหากย้อนไปในสมัยก่อนจะพบว่า ภาคกลางใช้น้ำชลประทาน 100% เกษตกรไม่มองน้ำต้นทุนของตนเอง ถมที่ทั้งหมดเพื่อทำการเกษตร แต่หลังจากนั้นสิบกว่าปีก็เริ่มแล้ง เมื่อต้องการมองหาพื้นที่สาธารณะที่สามารถรองรับน้ำต้นทุนได้ก็กลับไม่เจอ
ลุกไหม้สิ! ซิการ์ เราเป็นคนธรรมดาเท่า ๆ กัน
Reading Time: < 1 minuteจดบันทึกบนสนทนาเหล่านี้ไว้ รอวันที่จะได้เล่ามัน ผ่านการเชื่อมโยงตีความในกวีที่เคยได้อ่านเมื่อกลางปีก่อน ลุกไหม้สิ ซิการ์! กวีนิพนธ์ร่วมสมัย โดย ชัชชล อัจฯ เรียบเรียงและบันทึกสถานการณ์ทางการเมืองตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปัจจุบันด้วยถ้อยคำสามัญ
หลังบ้านทะลุวัง แรงโกรธและการต่อสู้ของผู้หญิง
Reading Time: 3 minutesDe/code พูดคุยกับตัวแทนของกลุ่มทะลุวัง บิวตี้ วิชญาพร ตุงคะเสน, บุ้ง เนติพร เสน่ห์สังคมและใบปอ–ณัฐนิช ดวงมุสิทธิ์ หลังจากเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ในวันที่พวกเขาบอกว่า ยังคงเดินอยู่บนหลักการเดิม เพียงแค่วิธีการเคลื่อนไหวไม่ถูกใจสังคมที่เป็นอนุรักษนิยมอย่างสังคมไทย
กางผังเมืองแก้ปม ‘แอชตัน อโศก’ นักผังเมืองชี้ “ทำให้ถูกต้องเถอะครับ”
Reading Time: 4 minutesข้อพิพาทระหว่างคอนโดแอชตันอโศกและชุมชนไม่ได้กระทบเพียงลูกบ้านของคอนโดหรูแห่งนี้ แต่สะเทือนถึงผู้กำหนดนโยบายภาครัฐและฉากทัศน์ของเมืองในอนาคตที่เป็นสมบัติร่วมของเราทุกคน ร่วมวิเคราะห์และถอดบทเรียนจากปัญหานี้กับ รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา นายกสมาคมนักผังเมืองไทย เพื่อหาแนวทางจัดการพื้นที่สาธารณะให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของการกำหนดผังเมือง ให้ประโยชน์สูงสุดตกแก่สาธารณชนอย่างที่ควรจะเป็น
หะยีสุหลงยังไม่ตาย
Reading Time: 2 minutesหะยีสุหลงเป็นที่จดจำในฐานะที่เป็นผู้ยื่นข้อเรียกร้องเจ็ดข้อให้กับรัฐบาล เป็นเจ็ดข้อเรียกร้องที่ว่ากันว่าสาระของมันยังคงทันสมัยเพราะแก่นของมันยังสะท้อนอยู่ในข้อเรียกร้องของกลุ่มขบวนการที่ต่อสู้เพื่อแยกพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้อย่างกลุ่มบีอาร์เอ็น ส่วนอีกสถานะหนึ่งก็คือสถานะการเป็นผู้ถูกบังคับให้สูญหาย
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ผิดไหมที่ห่างไกลศาสนาในสายตาพส.
Reading Time: 3 minutesบทบาทคณะสงฆ์ห่างไกลกับสังคม ทำให้คนรู้สึกว่าคณะสงฆ์ไม่ได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับสังคม
รักนวลสงวนสิทธิ์ในข้อพิพาทแห่งหญิงสาว
Reading Time: 3 minutesเรื่องราวที่ของหญิงสาวที่พร่าเลือนบนหน้าประวัติศาสตร์ กับคุณค่าแห่งความเป็นชายที่วิวัฒนาการและแนบเนียบอยู่ในสังคมไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน
ชิ้นส่วนของดวงดาวแตกสลายแต่ไม่กลายเป็นอื่น
Reading Time: < 1 minuteวัยเยาว์จ้องมองฉัน ก้าวต่อก้าว อดีตและอนาคตบรรจบกันที่ปัจจุบัน ความเปลี่ยนแปลงอาจเขย่าท้องฟ้า ชิ้นส่วนของดาวบางดวงร่วงลง แตกสลายแต่ไม่กลายเป็นอื่น
MIX
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
‘ลูกชายเป็นอะไร’ ไม่ได้เป็นห่วง แต่เป็นป้าข้างบ้าน ผิดหรือที่ ‘ฉันเป็นคนตาบอดที่มีความหลากหลายทางเพศ’
Reading Time: 2 minutesหมดเดือน Pride Month แต่ความภาคภูมิใจในความหลากหลายทางเพศของเรายังไม่หมดไป
ในพิระมิดของเพศที่มีความหลากหลายและโครงสร้างซับซ้อนกดทับของสังคมไทย คนพิการที่นิยามตนเป็นเพศหลากหลายถูกนับรวมในพิระมิดนั้นไหม พวกเขายอมรับตัวตนและแสดงอย่างไร
ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง
Reading Time: 3 minutesชาวบ้าน ชาวช่อง รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผมขออนุญาตเริ่มต้นด้วยการชวนให้คิดถึงเรื่องสามเรื่อง เรื่องแรก คือเสียงบ่นของคนกรุงที่เดินทางด้วยรถเมล์ เรื่องสอง คือ อุบัติเหตุของคนขับขี่รถจักรยานยนต์ และเรื่องสามคือ ภาพจำว่า เมืองที่เจริญคือเมืองที่มีรถไฟฟ้า สามเรื่องข้างต้น บางคนอาจคิดว่า พอจะเกี่ยวข้องกันบ้างเพราะเกี่ยวกับการเดินทางเหมือนกัน แต่ผมขอชี้ชัด ๆ ว่า หากเรามองทั้งสามเรื่องนี้ ด้วยแนวคิด ความเป็นธรรมด้านการเดินทาง (transport justice) ก็จะพบว่า สามเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เพราะบ่งชี้ถึงว่า เราจะมีเมืองที่มีการเดินทางที่เป็นธรรมได้อย่างไร ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ เมืองที่เป็นธรรม (just cities) มาแล้วอย่างน้อยสองตอน[i] ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเด็นความเป็นธรรม เป็นประเด็นที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้นในการถกเถียงเรื่องเมืองปัจจุบัน ส่งผลให้การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับการเดินทางหันมาให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมด้านการเดินทาง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เมืองมีความเป็นธรรมมากขึ้น เพราะมนุษย์เมืองส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง มีน้อยคนที่จะทำงานอยู่บ้าน หรือไม่ได้เดินทาง แต่เดิม เมื่อคิดถึงเรื่องการเดินทางสิ่งที่ถูกให้ความสำคัญก็คือ ประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเดินทางที่มุ่งตอบโจทย์ว่า จะทำให้คนสามารถเดินทางจากจุดหนึ่งไปถึงอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็วได้อย่างไร รถยนต์ จึงถูกให้ความสำคัญมากกว่าการเดินเท้าหรือการใช้จักรยาน และหากจะขนคนให้มาก ๆ การเดินทางด้วยระบบขนส่งทางราง ที่บ้านเรามักเรียกกันว่า รถไฟฟ้า หรือระบบขนส่งรถไฟรางเบา […]
AFTER Documentary Series
Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง
ชายผู้ออกตามหาแกะดาว
Reading Time: 2 minutesทั้งไตรภาค มีตัวเอกของเรื่องอยู่แค่สองคน คือมุสิกและ ‘ผม’ (ที่เป็นตัวละครหลักของเรื่อง) หนังสือปูพื้นการเติบโตของตัวละครมาตั้งแต่เล่มแรกที่ทั้งสองเป็นคนวัยกลางคน กำลังทำธุรกิจสิ่งพิมพ์ และเติบโตตามช่วงวัย ไล่ล่าความฝันอย่างที่คนหนุ่มสาวในประเทศญี่ปุ่นเคยไล่ล่า เล่าถึงการหลุดพ้นจากยุคเกษตรกรรมที่กำลังถูกส่งต่อไปยังยุคอุตสาหกรรม เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น
ทำไมเครือข่ายประชาชนต้อง ค้าน “พ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่ม” วันนี้ (23 พ.ค.65) นัดชุมนุมยืดเยื้อหน้าทำเนียบฯ
Reading Time: 2 minutesDe/code ชวนอ่านที่มาที่ไปของว่าทำไมเครือข่ายประชาชนต้องเดินหน้า และยืนยันว่าพ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่ม ไม่เป็นธรรม และไม่ชอบธรรม รวมถึงจะเป็นการละเมิดสิทธิของประชาชนในการร่วมกลุ่ม และชุมนุมด้วย
นิรโทษกรรมประชาชนของคน 3 รุ่น ‘ณัฐชนน-จตุพร-พิภพ’ ชำระประวัติศาสตร์ 20 ปีแห่งความขัดแย้ง
Reading Time: 2 minutesความขัดแย้งทางการเมืองไทยดำรงอยู่เกือบ 20 ปี หลังจากพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ขับไล่ “รัฐบาลทักษิณ” และเกิดการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 กระทั่งปัจุบันประเทศไทยอยู่ในวังวนความขัดแย้งไม่สิ้นสุด ข้อมูลจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน มีคนโดนคดีจากการออกมาเคลื่อนไหวในสองทศวรรษนี้แล้วกว่า 6,000 คน ตั้งแต่พ.ร.ก.ฉุกเฉิน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ร.บ.ความสะอาด ประกาศคำสั่งจากคณะยึดอำนาจ ความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 110 (ประทุษร้ายต่อพระราชินี) 112 และ116
อุดมคติและการปฏิบัติได้จริง เส้นทางที่(ไม่)ต้องเลือก
Reading Time: < 1 minuteคำว่า “อุดมคติ” กับการ “ปฏิบัติได้จริง” ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมันไม่ได้ห่างกันหรืออยู่ตรงกันข้ามแบบขาวดำแบบที่คนในยุคปัจจุบันเข้าใจ