seeddemo – Page 20 – Decode

SLIDER • HEADLINE

GRID • HERO

Journalism

‘สื่อสาธารณะของทุกคน’ ไม่ใช่แค่สโลแกน อ่านวิสัยทัศน์ ‘วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์’

Reading Time: 7 minutes“ก็ขอบคุณนะครับท่านกรรมการสรรหา แล้วก็ขอถือโอกาส สวัสดีผู้ชมทางบ้านนะครับ ก่อนอื่นก็ต้องขออภัยนิดนึงนะครับ เพราะว่าเพิ่งกลับจากอิตาลีเมื่อคืนนี้ ก็ยังเจ็ตแล็กอยู่ อาจจะเบลอ ๆ เล็กน้อย” “ก็ผมขอพูดสั้น ๆ นะครับว่ามีวิสัยทัศน์และแนวคิดเชิงกลยุทธ์ 6 ประเด็นเนี่ย ก่อนอื่นผมอยากจะพูดถึงสิ่งที่อยู่ในใจผม ว่าในฐานะที่ทําสื่อมา 30 กว่าปี สื่อสาธารณะของทุกคน ไม่ใช่สโลแกนนะครับ แต่ว่าเป็นคําถามในใจผมมาตลอด ว่าไทยพีบีเอสที่มีอายุ 17 ปี วันนี้เป็นสื่อสาธารณะของทุกคนหรือยัง” “เพราะว่าอันนี้เป็นคําถามที่สําคัญมากในความรู้สึกของผมนะครับ คือ สื่อสาธารณะคืออะไร ในความหมายของผม ผมอธิบายสั้น ๆ นะครับว่ามันเหมือนกับเป็นห้างสรรพสินค้าห้างนึง แล้วก็มี พวกเรานะครับ มาเปิดร้านขายของ แต่ในขณะเดียวกันเนี่ย เราก็เปิดโอกาสให้คนอื่น ๆ มาเปิดร้านขายของด้วยนะครับ แต่แน่นอนว่าในฐานะที่เราเป็นคนดูแลห้างสรรพสินค้านี้ เราก็ควรจะมีคนที่มาร้านค้าต่าง ๆ เนี่ย มีเสน่ห์ดึงดูดพอสมควร ไม่ใช่ เอ๊ะอะไรใครก็ได้นะครับ ประเภทของร้านอาหารที่เข้ามาทําเนี่ย มันก็คือ agenda ของพวกเราที่ว่าปีนี้เราอยากจะทําเรื่องสิทธิมนุษยชน เราอยากจะทําเรื่องผู้หญิง เราอยากจะทําเรื่อง whatever นะครับ เราก็เชิญร้านค้าเหล่านี้มาทําอาหาร […]

Journalism

‘สื่อเพื่อการเปลี่ยนผ่าน’ ก้าวต่อไป…ในวิสัยทัศน์ ‘ปัทมาวดี โพชนุกูล’

Reading Time: 3 minutesดิฉันเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลังจากลงจากตำแหน่ง ได้ไปทำงานกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเริ่มจากตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ ต่อด้วยผู้อำนวยการฝ่ายชุมชนและสังคม และสุดท้ายเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ ซึ่งดูแล Strategic Issues หรือประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 8 ประเด็นหลักของ สกว. ก่อนที่องค์กรจะมีการปรับโครงสร้างเป็นสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ในช่วงเปลี่ยนผ่านเป็น สกสว. ดิฉันได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และได้มีบทบาทในการวางระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมของประเทศ ทั้งในด้านการจัดทำแผนและจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงานกว่า 190 แห่ง ทำให้ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับทั้งหน่วยงานวิชาการและภาครัฐหลายแห่ง โดยใช้ “ข้อมูลและความรู้” เป็นเครื่องมือในการออกแบบการทำงาน ดิฉันเชื่ออย่างยิ่งว่า “ข้อมูลและความรู้” เป็นหัวใจของการปฏิรูประบบราชการ แต่น่าเสียดายที่ภาครัฐยังไม่เห็นความสำคัญของเรื่องนี้มากนัก เมื่อมีโอกาสได้เข้ามาร่วมกระบวนการกับไทยพีบีเอส ดิฉันมองว่า หากมีพื้นที่ให้ทำงาน ก็อยากผลักดันให้เกิดการใช้ข้อมูลและความรู้ในการขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เพื่อสังคมหรือประชาชนเท่านั้น แต่รวมถึงภาครัฐเอง ที่ต้องตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ข้อมูล ความรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ในช่วงที่ทำงานอยู่กับคณะเศรษฐศาสตร์ ดิฉันเคยมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินไทยพีบีเอส ได้มีโอกาสไปลงพื้นที่ที่สถานีต่างจังหวัด ไปพูดคุยกับสภาผู้ชมผู้ฟัง นักข่าวพลเมือง และสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้พอเข้าใจภาพรวมขององค์กร แม้สถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากก็ตาม […]

Journalism

Game Changer ในภูมิทัศน์สื่อแปรปรวน วิสัยทัศน์ ‘อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์’

Reading Time: 6 minutesผมเชื่อว่าเราน่าจะเห็นภาพกันพอสมควรว่า ธุรกิจที่เติบโตมา 40-50 ปี วิทยุโทรทัศน์-วิทยุกระจายเสียง ถูกสื่อใหม่ช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีแย่งชิงมวลชนอย่างราบคาบ แต่ถามว่าเราจะต้องทิ้งธุรกิจวิทยุโทรทัศน์ไหม ? มันคงเป็นไปไม่ได้ มันเป็นสื่อที่มีต้นทุนการเข้าถึงต่ำมากๆ โดยเฉพาะคนที่ด้อยโอกาสขาดโอกาส ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ สิ่งที่เราจะต้องตอบโจทย์เรื่องทีวีให้ได้ก็คือ ’คุณค่าและคุ้มค่า‘ เรามักจะพูดถึงความมีคุณค่าของสถานีหรือองค์การเราเสมอ แต่เราก็มักจะถูกตั้งคำถามถึงความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจอยู่เสมอ และค่อนขอดด้วยเงิน 2,000 ล้าน++ อยู่เสมอ อันนี้เป็นประเด็นที่ผมคิดว่ากับทีวีกับสื่อดั้งเดิมเรายังจำเป็นต้องยึดเอาไว้ ขณะเดียวกันสื่อใหม่เราต้องปรับตัว ปรับตัวไม่ได้หมายถึงการกระโจนเข้าสู่สื่อใหม่ในแบบที่ทุกแพลตฟอร์มทุกพื้นที่ แต่เราต้องทำความเข้าใจกับสิ่งนั้นอย่างลึกซึ้ง วันนี้เจนเอ็กซ์เจนวายค้นหาข้อมูลผ่าน Google เจนซีค้นหาผ่าน TikTok เจนอัลฟ่าบอกวันนี้ถาม ChatGPT, Gemini แต่คำถามคือเมื่อกระโดดเข้าสู่เทคโนโลยีใหม่ ๆ ช่องทางใหม่ เรารู้หรือเปล่าว่า AI ที่เราใช้อะไรอยู่เบื้องหลังตรงนั้นบ้าง เรารู้วิธีใช้เราไปถึงตรงนั้นแต่เราอาจจะยังไม่ได้เข้าใจวิธีการจัดการ ซึ่งสินค้าข้อมูลข่าวสารเป็นสินค้าสาธารณะ ซึ่งเรามีหน้าที่บทบาทในการทำสิ่งเหล่านี้ให้กับประชาชน ผมมองเรื่องของ Pestel Analysis คือโมเดลการวิเคราะห์ในภาพรวม ผมมองเป็นสองมิติ มิติหนึ่งก็คือว่าถ้าเรามีหน้าที่ในการส่งสินค้าหรือข่าวสาร Politics ไทยพีบีเอสเป็นตัวต่อเนื่องจาก itv ที่เกิดขึ้นหลังพฤษภาที่มีคนล้มตายเพราะเข้าไม่ถึงข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาเพราะโครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นกับไทยพีบีเอสผ่านมายังมีคนล้มตาย ด้วยอาจจะเข้าไม่ถึงข้อมูลมีคนควบคุมข้อมูลคนสังเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเพียงพอให้  […]

Journalism

คงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ศรัทธา DATA และความจริง วิสัยทัศน์ ‘หมออรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ’

Reading Time: 8 minutesสวัสดีคณะกรรมการทุกท่านนะครับ ผมทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศครับ ขออนุญาตอธิบายตัวเองนิดนึงสั้น ๆ ผมเป็นนักบริหาร เป็นนักสื่อสาร เป็นนักประสาน 10 ทิศนะครับ มีความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีแล้วก็ข้อมูล แล้วก็มีแพชชันเรื่องของการสร้างสุขสาธารณะนะครับ ที่พูดสั้น ๆ แบบนี้เพราะว่าแบ็คกราวน์ผมเริ่มตั้งแต่ผมเป็นทันตแพทย์ จบคณะการแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 35 อันเป็นการจบทางด้านวิชาชีพ แต่ว่าบทเรียนชีวิตให้อยู่ในสังคมได้จะเป็นกิจกรรมนักศึกษา ผมทํากิจกรรมนักศึกษามาตั้งแต่ปีหนึ่ง จำได้ว่าปีหนึ่งเนี่ยเกรด 2.41 เทอมหนึ่งนะฮะ เทอม 2 ไปเป็นประธานรุ่น เกรดเหลือ 2.14 นะครับ ทํามาหลายชมรมมาก แสงเสียงประชาสัมพันธ์และปี 6 เนี่ยได้รับเลือกเป็นนายกสโมฯ อันนั้นสอนการอยู่ในสังคมว่าอยู่ได้ยังไง จบแล้วไปทํางานอยู่ต่างจังหวัด ไปอยู่ที่โรงพยาบาลจังหวัดแพร่ ไกลมากเลยนะครับ ไปที่นั่นไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือทํางาน ในขณะที่รอเครื่องไม้เครื่องมือทํางานเนี่ย ผมมีกีต้าร์เป็นอาวุธฮะ ไปทําความรู้จักพูดไปวันไหน เขาไม่รู้จักหมอฟันคือใครก็เข้าไปที่โรงเรียน เข้าไปที่ชุมชนเอากีตาร์ไปร้องรําทําเพลงให้เขารู้จักเรา มันก็ได้ผล พอตอนที่ทํางานจริง ๆ เนี่ยไม่กลัวหมอฟันแล้วนะครับ หลังจากนั้นผมไปเรียนต่อ ผมชอบเทคโนโลยีก็เลือกไปเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ที่คณะวิศวะ จุฬาฯ ครับ อยากจะเรียนดูว่าเทคโนโลยีมันเป็นยังไง ผมทําวิทยานิพนธ์เรื่องของการออกแบบฟันปลอมบางส่วนถอดได้ […]

Journalism

โต้คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง สู่ Impact Maker วิสัยทัศน์ ‘รัฐศาสตร์ กรสูต’

Reading Time: 5 minutes“ขอสวัสดีท่านคณะกรรมการนะครับ รวมถึงทุกท่านทางบ้านด้วย รัฐศาสตร์ กรสูตร ผู้รับการสมัครสรรหาผอ. ThaiPBS นะครับ วันนี้ผมมาพบกับทุกท่านนะครับเพราะผมเชื่อว่าในทุกความเปลี่ยนแปลงย่อมนำมาซึ่งความเป็นไปได้ที่ดีกว่าเสมอนะครับ ผมเป็นคนแรกวันนี้” ผมเริ่มงานครั้งแรกในชีวิตเนี่ยตอนอายุ 17 ตอนเรียนปี 1 ที่ธรรมศาสตร์ผมได้รับ โอกาสไปเป็นศิลปินในค่ายแกรมมี่ ตอนนั้นมันคล้าย ๆ กับโรงเรียนแรกของผมที่ทำให้ผมได้เรียนรู้ถึงอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ที่นี่ผมได้พบกับเพื่อนพี่น้องมากมายที่วันนี้ก็ยังเป็นเพื่อนกันอยู่นะครับเรายังพูดคุยกัน ติดต่อสื่อสารกันผมมี mindset เดียวกับพวกเขา ผมพูดภาษาเดียวกับพวกเขา เพราะว่าผมเองก็เป็นหนึ่งในพวกเขาเหมือนกัน นี่เป็นที่แรกที่ทำให้ผมได้ค้นพบว่า พลังของดิจิทัลรุนแรงมหาศาลขนาดไหน “ผมได้เห็นองค์กรที่ต้องรับมือกับความท้าทายของความเปลี่ยนแปลงเรื่องของ technology มันเป็น Wave of Digital Disruption ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวงการอุตสาหกรรมเพลงไม่เหมือนเดิมอีก และที่ทำให้ผมตัดสินใจไปเรียนต่อ ปริญญาโทด้านไอทีเพื่อที่จะจบกลับมาทำงานด้านวงการไอที ทำซอฟต์แวร์ SAP ทำ Telecom ในช่วงนั้นเนี่ยเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมไทยเนี่ยค่อย ๆ เปลี่ยนการสื่อสารเนี่ยจากสื่อดั้งเดิมไปเป็นสื่อใหม่ที่เรียกว่าสื่อออนไลน์” “ผมเองก็ทำงานและเติบโตอยู่ในช่วงนั้นจนกระทั่งช่วงปี 2010 ผมได้มีโอกาสทำงานกับบริษัทเนซen เป็นผู้บริหารครั้งแรกดูแลเว็บไซต์ sanook.com เป็นเว็บอันดับ 1 ของประเทศไทย ณ ตอนนั้น ที่นี่พอ เริ่มงานแรกก็เจอ wave ที่ 2 ซัดเข้ามา มันเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมสื่อมันเริ่มเปลี่ยน […]

Crack Politics

พรรคราชการไม่มีวันตาย

Reading Time: 2 minutesก่อนจะถึงบรรทัดสุดท้าย ก็ ‘เบื่อหน่าย’ ซะก่อน หลายปีมานี้คนไทยยื่นภาษีง่ายขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ใช่ ใช่ มันง่ายและสะดวกมากขึ้น เป็นวิธีการที่พยายามอำนวยความสะดวก ลดรูปความเป็นราชการโดยใช้ระบบออนไลน์เป็นตัวช่วย แต่แค่ลดรูปเท่านั้น รากทางความคิดเชิงระบบระเบียบยังอยู่ ต้นปี 2568 เพื่อนของเรายื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ ผ่านไปหลายเดือนจนเราได้เงินภาษีโอนคืนมา แต่ใน User ของเพื่อนยังแจ้งเตือนในระบบว่าขอเอกสารเพิ่ม เขาส่งเอกสารเข้าระบบตามที่มีการแจ้งว่ายังขาด มันน่าจะจบใช่ไหม ? แต่ยัง ยังไม่ได้เงินคืนแม้เวลาผ่านไปนานหลายเดือนจนเกือบถอดใจ ได้ภาษีคืนรึยัง ? เราถาม เพราะความยุ่งยากในการติดต่อเจ้าหน้าที่ทำให้เราไม่ได้รับคำถาม คำถามที่ว่าวนซ้ำมากกว่า 3 ครั้งในรอบหนึ่งเดือน ในที่สุดเพื่อนของเราก็ต่อสายโทรกลับไปที่เจ้าหน้าที่ภาษีในจังหวัดชุมพร แต่เจ้าหน้าที่สรรพากรบอกเรื่องการยื่นเอกสารเพิ่มเติมดังกล่าวยังค้างอยู่ที่ศูนย์ใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างเดียวที่ทำได้คือ รอ รอ รอต่อไป                          เดือนเศษไม่ได้รับการตอบกลับจากเจ้าหน้าที่ ผู้ยื่นภาษีติดต่อไปผ่านเบอร์โทรศัพท์หน่วยงานราชการ และอย่างที่รู้โทรไม่สำเร็จในครั้งแรก หลายวันต่อก็ยังโทรจนโชคเข้าข้าง หลังรอสายอยู่หลายนาทีเจ้าหน้าที่ปลายสายแจ้งว่ามีการกรอกหมวดหมู่ที่มารายได้พิเศษผิดประเภท ผู้ยื่นภาษียืนยันกลับว่า ไม่มีหมวดหมู่ดังกล่าวในระบบ และเราเองซึ่งมีรายรับในหมวดหมู่เดียวกันนั้นก็ยืนยันว่าไม่มีหมวดหมู่ให้เลือกกรอกตามที่เจ้าหน้าที่อ้าง ตัวเราจึงเลือกกรอกหมวดหมู่อื่นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งไม่พบปัญหาเพราะได้เงินคืนมาจากสรรพากรมา 3-4 เดือนก่อนหน้านี้แล้ว เจ้าหน้าที่ปลายสายตอบกลับหลังคุยเป็นเวลาหลายนาที เธอบอกให้เขาเขียนเอกสารชี้แจงและขอแก้ไขหมวดหมู่เงินได้ใหม่ด้วยลายมือ เขียนในกระดาษแล้วลงนามกำกับ จากนั้นก็อัปโหลดลงในระบบออนไลน์ เจ้าหน้าที่เธอต้องการเอกสารที่ว่าไปทำไมกัน ทั้ง ๆ […]

Welfare state

เลือกแล้วที่จะ…

Reading Time: 2 minutesจุดร่วมของพวกเขาที่พบนอกเหนือจากอาการป่วยที่หนักหนาและความเป็นคนไร้บ้าน พวกเขามักปฏิเสธการช่วยเหลือให้ได้เข้าสู่การรักษาในโรงพยาบาล ทำไมเขาถึงเลือกแบบนั้น ทำไม… เป็นคำถามค้างคาใจอยู่พอสมควร คำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบจากเจ้าตัว คนที่เลือกแล้วที่จะไม่ไปโรงพยาบาล

Backpack Journalist

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Human & Society

ความหมายของการมีลมหายใจ

Reading Time: 2 minutesความรักทำให้ตาสว่าง ความรักทำให้อยากกลับบ้านไว หลากหลายเหตุผลที่ความรักทำให้เรารู้สึก หนึ่งในคือความหมายของการมีลมหายใจ

GRID • CARD

Journalism

‘สื่อสาธารณะของทุกคน’ ไม่ใช่แค่สโลแกน อ่านวิสัยทัศน์ ‘วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์’

Reading Time: 7 minutes“ก็ขอบคุณนะครับท่านกรรมการสรรหา แล้วก็ขอถือโอกาส สวัสดีผู้ชมทางบ้านนะครับ ก่อนอื่นก็ต้องขออภัยนิดนึงนะครับ เพราะว่าเพิ่งกลับจากอิตาลีเมื่อคืนนี้ ก็ยังเจ็ตแล็กอยู่ อาจจะเบลอ ๆ เล็กน้อย” “ก็ผมขอพูดสั้น ๆ นะครับว่ามีวิสัยทัศน์และแนวคิดเชิงกลยุทธ์ 6 ประเด็นเนี่ย ก่อนอื่นผมอยากจะพูดถึงสิ่งที่อยู่ในใจผม ว่าในฐานะที่ทําสื่อมา 30 กว่าปี สื่อสาธารณะของทุกคน ไม่ใช่สโลแกนนะครับ แต่ว่าเป็นคําถามในใจผมมาตลอด ว่าไทยพีบีเอสที่มีอายุ 17 ปี วันนี้เป็นสื่อสาธารณะของทุกคนหรือยัง” “เพราะว่าอันนี้เป็นคําถามที่สําคัญมากในความรู้สึกของผมนะครับ คือ สื่อสาธารณะคืออะไร ในความหมายของผม ผมอธิบายสั้น ๆ นะครับว่ามันเหมือนกับเป็นห้างสรรพสินค้าห้างนึง แล้วก็มี พวกเรานะครับ มาเปิดร้านขายของ แต่ในขณะเดียวกันเนี่ย เราก็เปิดโอกาสให้คนอื่น ๆ มาเปิดร้านขายของด้วยนะครับ แต่แน่นอนว่าในฐานะที่เราเป็นคนดูแลห้างสรรพสินค้านี้ เราก็ควรจะมีคนที่มาร้านค้าต่าง ๆ เนี่ย มีเสน่ห์ดึงดูดพอสมควร ไม่ใช่ เอ๊ะอะไรใครก็ได้นะครับ ประเภทของร้านอาหารที่เข้ามาทําเนี่ย มันก็คือ agenda ของพวกเราที่ว่าปีนี้เราอยากจะทําเรื่องสิทธิมนุษยชน เราอยากจะทําเรื่องผู้หญิง เราอยากจะทําเรื่อง whatever นะครับ เราก็เชิญร้านค้าเหล่านี้มาทําอาหาร […]

Decode
Journalism

‘สื่อเพื่อการเปลี่ยนผ่าน’ ก้าวต่อไป…ในวิสัยทัศน์ ‘ปัทมาวดี โพชนุกูล’

Reading Time: 3 minutesดิฉันเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลังจากลงจากตำแหน่ง ได้ไปทำงานกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเริ่มจากตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ ต่อด้วยผู้อำนวยการฝ่ายชุมชนและสังคม และสุดท้ายเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ ซึ่งดูแล Strategic Issues หรือประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 8 ประเด็นหลักของ สกว. ก่อนที่องค์กรจะมีการปรับโครงสร้างเป็นสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ในช่วงเปลี่ยนผ่านเป็น สกสว. ดิฉันได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และได้มีบทบาทในการวางระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมของประเทศ ทั้งในด้านการจัดทำแผนและจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงานกว่า 190 แห่ง ทำให้ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับทั้งหน่วยงานวิชาการและภาครัฐหลายแห่ง โดยใช้ “ข้อมูลและความรู้” เป็นเครื่องมือในการออกแบบการทำงาน ดิฉันเชื่ออย่างยิ่งว่า “ข้อมูลและความรู้” เป็นหัวใจของการปฏิรูประบบราชการ แต่น่าเสียดายที่ภาครัฐยังไม่เห็นความสำคัญของเรื่องนี้มากนัก เมื่อมีโอกาสได้เข้ามาร่วมกระบวนการกับไทยพีบีเอส ดิฉันมองว่า หากมีพื้นที่ให้ทำงาน ก็อยากผลักดันให้เกิดการใช้ข้อมูลและความรู้ในการขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เพื่อสังคมหรือประชาชนเท่านั้น แต่รวมถึงภาครัฐเอง ที่ต้องตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ข้อมูล ความรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ในช่วงที่ทำงานอยู่กับคณะเศรษฐศาสตร์ ดิฉันเคยมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินไทยพีบีเอส ได้มีโอกาสไปลงพื้นที่ที่สถานีต่างจังหวัด ไปพูดคุยกับสภาผู้ชมผู้ฟัง นักข่าวพลเมือง และสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้พอเข้าใจภาพรวมขององค์กร แม้สถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากก็ตาม […]

Decode
Journalism,News

Game Changer ในภูมิทัศน์สื่อแปรปรวน วิสัยทัศน์ ‘อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์’

Reading Time: 6 minutesผมเชื่อว่าเราน่าจะเห็นภาพกันพอสมควรว่า ธุรกิจที่เติบโตมา 40-50 ปี วิทยุโทรทัศน์-วิทยุกระจายเสียง ถูกสื่อใหม่ช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีแย่งชิงมวลชนอย่างราบคาบ แต่ถามว่าเราจะต้องทิ้งธุรกิจวิทยุโทรทัศน์ไหม ? มันคงเป็นไปไม่ได้ มันเป็นสื่อที่มีต้นทุนการเข้าถึงต่ำมากๆ โดยเฉพาะคนที่ด้อยโอกาสขาดโอกาส ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ สิ่งที่เราจะต้องตอบโจทย์เรื่องทีวีให้ได้ก็คือ ’คุณค่าและคุ้มค่า‘ เรามักจะพูดถึงความมีคุณค่าของสถานีหรือองค์การเราเสมอ แต่เราก็มักจะถูกตั้งคำถามถึงความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจอยู่เสมอ และค่อนขอดด้วยเงิน 2,000 ล้าน++ อยู่เสมอ อันนี้เป็นประเด็นที่ผมคิดว่ากับทีวีกับสื่อดั้งเดิมเรายังจำเป็นต้องยึดเอาไว้ ขณะเดียวกันสื่อใหม่เราต้องปรับตัว ปรับตัวไม่ได้หมายถึงการกระโจนเข้าสู่สื่อใหม่ในแบบที่ทุกแพลตฟอร์มทุกพื้นที่ แต่เราต้องทำความเข้าใจกับสิ่งนั้นอย่างลึกซึ้ง วันนี้เจนเอ็กซ์เจนวายค้นหาข้อมูลผ่าน Google เจนซีค้นหาผ่าน TikTok เจนอัลฟ่าบอกวันนี้ถาม ChatGPT, Gemini แต่คำถามคือเมื่อกระโดดเข้าสู่เทคโนโลยีใหม่ ๆ ช่องทางใหม่ เรารู้หรือเปล่าว่า AI ที่เราใช้อะไรอยู่เบื้องหลังตรงนั้นบ้าง เรารู้วิธีใช้เราไปถึงตรงนั้นแต่เราอาจจะยังไม่ได้เข้าใจวิธีการจัดการ ซึ่งสินค้าข้อมูลข่าวสารเป็นสินค้าสาธารณะ ซึ่งเรามีหน้าที่บทบาทในการทำสิ่งเหล่านี้ให้กับประชาชน ผมมองเรื่องของ Pestel Analysis คือโมเดลการวิเคราะห์ในภาพรวม ผมมองเป็นสองมิติ มิติหนึ่งก็คือว่าถ้าเรามีหน้าที่ในการส่งสินค้าหรือข่าวสาร Politics ไทยพีบีเอสเป็นตัวต่อเนื่องจาก itv ที่เกิดขึ้นหลังพฤษภาที่มีคนล้มตายเพราะเข้าไม่ถึงข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาเพราะโครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นกับไทยพีบีเอสผ่านมายังมีคนล้มตาย ด้วยอาจจะเข้าไม่ถึงข้อมูลมีคนควบคุมข้อมูลคนสังเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเพียงพอให้  […]

Decode
Journalism

คงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ศรัทธา DATA และความจริง วิสัยทัศน์ ‘หมออรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ’

Reading Time: 8 minutesสวัสดีคณะกรรมการทุกท่านนะครับ ผมทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศครับ ขออนุญาตอธิบายตัวเองนิดนึงสั้น ๆ ผมเป็นนักบริหาร เป็นนักสื่อสาร เป็นนักประสาน 10 ทิศนะครับ มีความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีแล้วก็ข้อมูล แล้วก็มีแพชชันเรื่องของการสร้างสุขสาธารณะนะครับ ที่พูดสั้น ๆ แบบนี้เพราะว่าแบ็คกราวน์ผมเริ่มตั้งแต่ผมเป็นทันตแพทย์ จบคณะการแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 35 อันเป็นการจบทางด้านวิชาชีพ แต่ว่าบทเรียนชีวิตให้อยู่ในสังคมได้จะเป็นกิจกรรมนักศึกษา ผมทํากิจกรรมนักศึกษามาตั้งแต่ปีหนึ่ง จำได้ว่าปีหนึ่งเนี่ยเกรด 2.41 เทอมหนึ่งนะฮะ เทอม 2 ไปเป็นประธานรุ่น เกรดเหลือ 2.14 นะครับ ทํามาหลายชมรมมาก แสงเสียงประชาสัมพันธ์และปี 6 เนี่ยได้รับเลือกเป็นนายกสโมฯ อันนั้นสอนการอยู่ในสังคมว่าอยู่ได้ยังไง จบแล้วไปทํางานอยู่ต่างจังหวัด ไปอยู่ที่โรงพยาบาลจังหวัดแพร่ ไกลมากเลยนะครับ ไปที่นั่นไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือทํางาน ในขณะที่รอเครื่องไม้เครื่องมือทํางานเนี่ย ผมมีกีต้าร์เป็นอาวุธฮะ ไปทําความรู้จักพูดไปวันไหน เขาไม่รู้จักหมอฟันคือใครก็เข้าไปที่โรงเรียน เข้าไปที่ชุมชนเอากีตาร์ไปร้องรําทําเพลงให้เขารู้จักเรา มันก็ได้ผล พอตอนที่ทํางานจริง ๆ เนี่ยไม่กลัวหมอฟันแล้วนะครับ หลังจากนั้นผมไปเรียนต่อ ผมชอบเทคโนโลยีก็เลือกไปเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ที่คณะวิศวะ จุฬาฯ ครับ อยากจะเรียนดูว่าเทคโนโลยีมันเป็นยังไง ผมทําวิทยานิพนธ์เรื่องของการออกแบบฟันปลอมบางส่วนถอดได้ […]

Decode
Journalism

โต้คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง สู่ Impact Maker วิสัยทัศน์ ‘รัฐศาสตร์ กรสูต’

Reading Time: 5 minutes“ขอสวัสดีท่านคณะกรรมการนะครับ รวมถึงทุกท่านทางบ้านด้วย รัฐศาสตร์ กรสูตร ผู้รับการสมัครสรรหาผอ. ThaiPBS นะครับ วันนี้ผมมาพบกับทุกท่านนะครับเพราะผมเชื่อว่าในทุกความเปลี่ยนแปลงย่อมนำมาซึ่งความเป็นไปได้ที่ดีกว่าเสมอนะครับ ผมเป็นคนแรกวันนี้” ผมเริ่มงานครั้งแรกในชีวิตเนี่ยตอนอายุ 17 ตอนเรียนปี 1 ที่ธรรมศาสตร์ผมได้รับ โอกาสไปเป็นศิลปินในค่ายแกรมมี่ ตอนนั้นมันคล้าย ๆ กับโรงเรียนแรกของผมที่ทำให้ผมได้เรียนรู้ถึงอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ที่นี่ผมได้พบกับเพื่อนพี่น้องมากมายที่วันนี้ก็ยังเป็นเพื่อนกันอยู่นะครับเรายังพูดคุยกัน ติดต่อสื่อสารกันผมมี mindset เดียวกับพวกเขา ผมพูดภาษาเดียวกับพวกเขา เพราะว่าผมเองก็เป็นหนึ่งในพวกเขาเหมือนกัน นี่เป็นที่แรกที่ทำให้ผมได้ค้นพบว่า พลังของดิจิทัลรุนแรงมหาศาลขนาดไหน “ผมได้เห็นองค์กรที่ต้องรับมือกับความท้าทายของความเปลี่ยนแปลงเรื่องของ technology มันเป็น Wave of Digital Disruption ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวงการอุตสาหกรรมเพลงไม่เหมือนเดิมอีก และที่ทำให้ผมตัดสินใจไปเรียนต่อ ปริญญาโทด้านไอทีเพื่อที่จะจบกลับมาทำงานด้านวงการไอที ทำซอฟต์แวร์ SAP ทำ Telecom ในช่วงนั้นเนี่ยเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมไทยเนี่ยค่อย ๆ เปลี่ยนการสื่อสารเนี่ยจากสื่อดั้งเดิมไปเป็นสื่อใหม่ที่เรียกว่าสื่อออนไลน์” “ผมเองก็ทำงานและเติบโตอยู่ในช่วงนั้นจนกระทั่งช่วงปี 2010 ผมได้มีโอกาสทำงานกับบริษัทเนซen เป็นผู้บริหารครั้งแรกดูแลเว็บไซต์ sanook.com เป็นเว็บอันดับ 1 ของประเทศไทย ณ ตอนนั้น ที่นี่พอ เริ่มงานแรกก็เจอ wave ที่ 2 ซัดเข้ามา มันเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมสื่อมันเริ่มเปลี่ยน […]

Decode
Crack Politics,Play Read

พรรคราชการไม่มีวันตาย

Reading Time: 2 minutesก่อนจะถึงบรรทัดสุดท้าย ก็ ‘เบื่อหน่าย’ ซะก่อน หลายปีมานี้คนไทยยื่นภาษีง่ายขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ใช่ ใช่ มันง่ายและสะดวกมากขึ้น เป็นวิธีการที่พยายามอำนวยความสะดวก ลดรูปความเป็นราชการโดยใช้ระบบออนไลน์เป็นตัวช่วย แต่แค่ลดรูปเท่านั้น รากทางความคิดเชิงระบบระเบียบยังอยู่ ต้นปี 2568 เพื่อนของเรายื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ ผ่านไปหลายเดือนจนเราได้เงินภาษีโอนคืนมา แต่ใน User ของเพื่อนยังแจ้งเตือนในระบบว่าขอเอกสารเพิ่ม เขาส่งเอกสารเข้าระบบตามที่มีการแจ้งว่ายังขาด มันน่าจะจบใช่ไหม ? แต่ยัง ยังไม่ได้เงินคืนแม้เวลาผ่านไปนานหลายเดือนจนเกือบถอดใจ ได้ภาษีคืนรึยัง ? เราถาม เพราะความยุ่งยากในการติดต่อเจ้าหน้าที่ทำให้เราไม่ได้รับคำถาม คำถามที่ว่าวนซ้ำมากกว่า 3 ครั้งในรอบหนึ่งเดือน ในที่สุดเพื่อนของเราก็ต่อสายโทรกลับไปที่เจ้าหน้าที่ภาษีในจังหวัดชุมพร แต่เจ้าหน้าที่สรรพากรบอกเรื่องการยื่นเอกสารเพิ่มเติมดังกล่าวยังค้างอยู่ที่ศูนย์ใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างเดียวที่ทำได้คือ รอ รอ รอต่อไป                          เดือนเศษไม่ได้รับการตอบกลับจากเจ้าหน้าที่ ผู้ยื่นภาษีติดต่อไปผ่านเบอร์โทรศัพท์หน่วยงานราชการ และอย่างที่รู้โทรไม่สำเร็จในครั้งแรก หลายวันต่อก็ยังโทรจนโชคเข้าข้าง หลังรอสายอยู่หลายนาทีเจ้าหน้าที่ปลายสายแจ้งว่ามีการกรอกหมวดหมู่ที่มารายได้พิเศษผิดประเภท ผู้ยื่นภาษียืนยันกลับว่า ไม่มีหมวดหมู่ดังกล่าวในระบบ และเราเองซึ่งมีรายรับในหมวดหมู่เดียวกันนั้นก็ยืนยันว่าไม่มีหมวดหมู่ให้เลือกกรอกตามที่เจ้าหน้าที่อ้าง ตัวเราจึงเลือกกรอกหมวดหมู่อื่นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งไม่พบปัญหาเพราะได้เงินคืนมาจากสรรพากรมา 3-4 เดือนก่อนหน้านี้แล้ว เจ้าหน้าที่ปลายสายตอบกลับหลังคุยเป็นเวลาหลายนาที เธอบอกให้เขาเขียนเอกสารชี้แจงและขอแก้ไขหมวดหมู่เงินได้ใหม่ด้วยลายมือ เขียนในกระดาษแล้วลงนามกำกับ จากนั้นก็อัปโหลดลงในระบบออนไลน์ เจ้าหน้าที่เธอต้องการเอกสารที่ว่าไปทำไมกัน ทั้ง ๆ […]

วิภาพร วัฒนวิทย์
Welfare state

เลือกแล้วที่จะ…

Reading Time: 2 minutesจุดร่วมของพวกเขาที่พบนอกเหนือจากอาการป่วยที่หนักหนาและความเป็นคนไร้บ้าน พวกเขามักปฏิเสธการช่วยเหลือให้ได้เข้าสู่การรักษาในโรงพยาบาล ทำไมเขาถึงเลือกแบบนั้น ทำไม… เป็นคำถามค้างคาใจอยู่พอสมควร คำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบจากเจ้าตัว คนที่เลือกแล้วที่จะไม่ไปโรงพยาบาล

สิทธิพล ชูประจง
Backpack Journalist,Documentary,Sustainability,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Conflict Resolution,Environment,News

ไม่แตะทุนใหญ่ตัวการ PM 2.5 ‘เราก็ไม่รอดกันหมด’

Reading Time: 3 minutesรัฐเห็นอะไรสำคัญและเร่งด่วนไปกว่าชีวิตของคนในประเทศ?แก้ปัญหา PM 2.5 ที่ปลายเหตุไม่เคยได้ผล ทำไมไม่แก้ที่ต้นตอ? ไม่อยากตายผ่อนส่งเพราะมลพิษทางอากาศ เราทำอะไรได้บ้างในฐานะพลเมือง?

อโนมา สอนบาลี
Play Read

ชายหนุ่มผู้ออกเดินทาง

Reading Time: 3 minutesวรรณกรรมขององอาจ ชัยชาญชีพ ก่อนเริ่มต้นหยิบจับเล่มนี้จากสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ในปีที่ผ่านมา พลันคิดได้ว่าผู้เขียนจงใจอย่างแจ่มแจ้ง ที่จะล้อเลียนชื่อปกอย่างวรรณกรรม “เจ้าช้ายน้อย” ที่เป็นวรรณกรรมคลาสสิคอมตะ

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา

GRID • LIST • PAGINATION

ดงมะไฟ อาหารของเรา แผ่นดินของเรา

Reading Time: 4 minutesเทศกาลอาหารบ้านป่าดงมะไฟ เทศกาลหลังการปิดเหมืองสำเร็จที่หมู่บ้านผาฮวกพัฒนาชาวประชาสามัคคี เทศกาลที่รื้อฟื้นการต่อสู้เพื่อความมั่นคงต่อสิ่งแวดล้อมและข้าวปลาอาหารของชาวบ้านดงมะไฟ

ไฟอีสานและความขำขื่น

Reading Time: 2 minutesเลือกหยิบเล่มนี้มาเล่าเคล้าความขำขื่นเพราะสำหรับเราแล้ว คนอีสานคือคนบ่ย่าน อำนาจใหญ่แค่ไหนก็บ่หยั่น สู้ได้สู้ ความขำขันทำให้ความตึงเครียดคลายลง อย่างน้อยก็ในช่วงเวลาที่กรามขยับ หลังจากนั้นก็สู้ต่อ

เมื่อประชาชนคือด่านหน้าของความ(ไม่)มั่นคงทางน้ำและอาหารในภูมิภาคเอเชีย

Reading Time: 4 minutesประชาชนรากหญ้าคือกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุด เนื่องจากภัยพิบัติมักจะเกิดขึ้นในพื้นที่ของพวกเขา ในขณะเดียวกันรัฐกลับไม่มีมาตรการใด ๆ ในการรับมือกับภูมิอากาศที่ย่ำแย่มากขึ้นทุกวัน

สุรา เครื่องดื่มสีเทา (ไม่ใช่ดำสนิท)

Reading Time: 2 minutesเมื่อคนดื่มสุรา มีวิถีและระดับการดื่มหลากหลายเช่นนี้ เราจึงไม่ควรมองการดื่มสุราว่า เป็นปีศาจร้ายไปเสียทั้งหมด 

ปัตตานีดีโค้ดเด็ด: เทศกาลที่เป็นยิ่งกว่าสำนึกรักบ้านเกิด

Reading Time: 3 minutesPattani Decoded เป็นเทศกาลประจำ 2 ปี แต่ละครั้งธีมหลักจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ โดยมีเนื้อหาว่าด้วยเรื่องแวววาวต่างๆ ของเมืองปัตตานี …เมืองแวววาวที่แวววาวจนต้องหรี่ตาเวลาพูดถึง ซึ่งคนนอกแทบไม่รู้ว่ามีอยู่เบื้องหลังข่าวที่ว่าแต่เรื่องความขัดแย้งและความรุนแรงซ้ำซาก 

1 18 19 20 21 22 199

GRID • CAPTION

GRID • CARD • HIDE SUMMARY

Crack Politics,Play Read

พรรคราชการไม่มีวันตาย

Reading Time: 2 minutesก่อนจะถึงบรรทัดสุดท้าย ก็ ‘เบื่อหน่าย’ ซะก่อน หลายปีมานี้คนไทยยื่นภาษีง่ายขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ใช่ ใช่ มันง่ายและสะดวกมากขึ้น เป็นวิธีการที่พยายามอำนวยความสะดวก ลดรูปความเป็นราชการโดยใช้ระบบออนไลน์เป็นตัวช่วย แต่แค่ลดรูปเท่านั้น รากทางความคิดเชิงระบบระเบียบยังอยู่ ต้นปี 2568 เพื่อนของเรายื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ ผ่านไปหลายเดือนจนเราได้เงินภาษีโอนคืนมา แต่ใน User ของเพื่อนยังแจ้งเตือนในระบบว่าขอเอกสารเพิ่ม เขาส่งเอกสารเข้าระบบตามที่มีการแจ้งว่ายังขาด มันน่าจะจบใช่ไหม ? แต่ยัง ยังไม่ได้เงินคืนแม้เวลาผ่านไปนานหลายเดือนจนเกือบถอดใจ ได้ภาษีคืนรึยัง ? เราถาม เพราะความยุ่งยากในการติดต่อเจ้าหน้าที่ทำให้เราไม่ได้รับคำถาม คำถามที่ว่าวนซ้ำมากกว่า 3 ครั้งในรอบหนึ่งเดือน ในที่สุดเพื่อนของเราก็ต่อสายโทรกลับไปที่เจ้าหน้าที่ภาษีในจังหวัดชุมพร แต่เจ้าหน้าที่สรรพากรบอกเรื่องการยื่นเอกสารเพิ่มเติมดังกล่าวยังค้างอยู่ที่ศูนย์ใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างเดียวที่ทำได้คือ รอ รอ รอต่อไป                          เดือนเศษไม่ได้รับการตอบกลับจากเจ้าหน้าที่ ผู้ยื่นภาษีติดต่อไปผ่านเบอร์โทรศัพท์หน่วยงานราชการ และอย่างที่รู้โทรไม่สำเร็จในครั้งแรก หลายวันต่อก็ยังโทรจนโชคเข้าข้าง หลังรอสายอยู่หลายนาทีเจ้าหน้าที่ปลายสายแจ้งว่ามีการกรอกหมวดหมู่ที่มารายได้พิเศษผิดประเภท ผู้ยื่นภาษียืนยันกลับว่า ไม่มีหมวดหมู่ดังกล่าวในระบบ และเราเองซึ่งมีรายรับในหมวดหมู่เดียวกันนั้นก็ยืนยันว่าไม่มีหมวดหมู่ให้เลือกกรอกตามที่เจ้าหน้าที่อ้าง ตัวเราจึงเลือกกรอกหมวดหมู่อื่นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งไม่พบปัญหาเพราะได้เงินคืนมาจากสรรพากรมา 3-4 เดือนก่อนหน้านี้แล้ว เจ้าหน้าที่ปลายสายตอบกลับหลังคุยเป็นเวลาหลายนาที เธอบอกให้เขาเขียนเอกสารชี้แจงและขอแก้ไขหมวดหมู่เงินได้ใหม่ด้วยลายมือ เขียนในกระดาษแล้วลงนามกำกับ จากนั้นก็อัปโหลดลงในระบบออนไลน์ เจ้าหน้าที่เธอต้องการเอกสารที่ว่าไปทำไมกัน ทั้ง ๆ […]

วิภาพร วัฒนวิทย์
Journalism

‘สื่อสาธารณะของทุกคน’ ไม่ใช่แค่สโลแกน อ่านวิสัยทัศน์ ‘วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์’

Reading Time: 7 minutes“ก็ขอบคุณนะครับท่านกรรมการสรรหา แล้วก็ขอถือโอกาส สวัสดีผู้ชมทางบ้านนะครับ ก่อนอื่นก็ต้องขออภัยนิดนึงนะครับ เพราะว่าเพิ่งกลับจากอิตาลีเมื่อคืนนี้ ก็ยังเจ็ตแล็กอยู่ อาจจะเบลอ ๆ เล็กน้อย” “ก็ผมขอพูดสั้น ๆ นะครับว่ามีวิสัยทัศน์และแนวคิดเชิงกลยุทธ์ 6 ประเด็นเนี่ย ก่อนอื่นผมอยากจะพูดถึงสิ่งที่อยู่ในใจผม ว่าในฐานะที่ทําสื่อมา 30 กว่าปี สื่อสาธารณะของทุกคน ไม่ใช่สโลแกนนะครับ แต่ว่าเป็นคําถามในใจผมมาตลอด ว่าไทยพีบีเอสที่มีอายุ 17 ปี วันนี้เป็นสื่อสาธารณะของทุกคนหรือยัง” “เพราะว่าอันนี้เป็นคําถามที่สําคัญมากในความรู้สึกของผมนะครับ คือ สื่อสาธารณะคืออะไร ในความหมายของผม ผมอธิบายสั้น ๆ นะครับว่ามันเหมือนกับเป็นห้างสรรพสินค้าห้างนึง แล้วก็มี พวกเรานะครับ มาเปิดร้านขายของ แต่ในขณะเดียวกันเนี่ย เราก็เปิดโอกาสให้คนอื่น ๆ มาเปิดร้านขายของด้วยนะครับ แต่แน่นอนว่าในฐานะที่เราเป็นคนดูแลห้างสรรพสินค้านี้ เราก็ควรจะมีคนที่มาร้านค้าต่าง ๆ เนี่ย มีเสน่ห์ดึงดูดพอสมควร ไม่ใช่ เอ๊ะอะไรใครก็ได้นะครับ ประเภทของร้านอาหารที่เข้ามาทําเนี่ย มันก็คือ agenda ของพวกเราที่ว่าปีนี้เราอยากจะทําเรื่องสิทธิมนุษยชน เราอยากจะทําเรื่องผู้หญิง เราอยากจะทําเรื่อง whatever นะครับ เราก็เชิญร้านค้าเหล่านี้มาทําอาหาร […]

Decode
Journalism

‘สื่อเพื่อการเปลี่ยนผ่าน’ ก้าวต่อไป…ในวิสัยทัศน์ ‘ปัทมาวดี โพชนุกูล’

Reading Time: 3 minutesดิฉันเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลังจากลงจากตำแหน่ง ได้ไปทำงานกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเริ่มจากตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ ต่อด้วยผู้อำนวยการฝ่ายชุมชนและสังคม และสุดท้ายเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ ซึ่งดูแล Strategic Issues หรือประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 8 ประเด็นหลักของ สกว. ก่อนที่องค์กรจะมีการปรับโครงสร้างเป็นสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ในช่วงเปลี่ยนผ่านเป็น สกสว. ดิฉันได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และได้มีบทบาทในการวางระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมของประเทศ ทั้งในด้านการจัดทำแผนและจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงานกว่า 190 แห่ง ทำให้ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับทั้งหน่วยงานวิชาการและภาครัฐหลายแห่ง โดยใช้ “ข้อมูลและความรู้” เป็นเครื่องมือในการออกแบบการทำงาน ดิฉันเชื่ออย่างยิ่งว่า “ข้อมูลและความรู้” เป็นหัวใจของการปฏิรูประบบราชการ แต่น่าเสียดายที่ภาครัฐยังไม่เห็นความสำคัญของเรื่องนี้มากนัก เมื่อมีโอกาสได้เข้ามาร่วมกระบวนการกับไทยพีบีเอส ดิฉันมองว่า หากมีพื้นที่ให้ทำงาน ก็อยากผลักดันให้เกิดการใช้ข้อมูลและความรู้ในการขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เพื่อสังคมหรือประชาชนเท่านั้น แต่รวมถึงภาครัฐเอง ที่ต้องตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ข้อมูล ความรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ในช่วงที่ทำงานอยู่กับคณะเศรษฐศาสตร์ ดิฉันเคยมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินไทยพีบีเอส ได้มีโอกาสไปลงพื้นที่ที่สถานีต่างจังหวัด ไปพูดคุยกับสภาผู้ชมผู้ฟัง นักข่าวพลเมือง และสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้พอเข้าใจภาพรวมขององค์กร แม้สถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากก็ตาม […]

Decode
Journalism,News

Game Changer ในภูมิทัศน์สื่อแปรปรวน วิสัยทัศน์ ‘อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์’

Reading Time: 6 minutesผมเชื่อว่าเราน่าจะเห็นภาพกันพอสมควรว่า ธุรกิจที่เติบโตมา 40-50 ปี วิทยุโทรทัศน์-วิทยุกระจายเสียง ถูกสื่อใหม่ช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีแย่งชิงมวลชนอย่างราบคาบ แต่ถามว่าเราจะต้องทิ้งธุรกิจวิทยุโทรทัศน์ไหม ? มันคงเป็นไปไม่ได้ มันเป็นสื่อที่มีต้นทุนการเข้าถึงต่ำมากๆ โดยเฉพาะคนที่ด้อยโอกาสขาดโอกาส ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ สิ่งที่เราจะต้องตอบโจทย์เรื่องทีวีให้ได้ก็คือ ’คุณค่าและคุ้มค่า‘ เรามักจะพูดถึงความมีคุณค่าของสถานีหรือองค์การเราเสมอ แต่เราก็มักจะถูกตั้งคำถามถึงความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจอยู่เสมอ และค่อนขอดด้วยเงิน 2,000 ล้าน++ อยู่เสมอ อันนี้เป็นประเด็นที่ผมคิดว่ากับทีวีกับสื่อดั้งเดิมเรายังจำเป็นต้องยึดเอาไว้ ขณะเดียวกันสื่อใหม่เราต้องปรับตัว ปรับตัวไม่ได้หมายถึงการกระโจนเข้าสู่สื่อใหม่ในแบบที่ทุกแพลตฟอร์มทุกพื้นที่ แต่เราต้องทำความเข้าใจกับสิ่งนั้นอย่างลึกซึ้ง วันนี้เจนเอ็กซ์เจนวายค้นหาข้อมูลผ่าน Google เจนซีค้นหาผ่าน TikTok เจนอัลฟ่าบอกวันนี้ถาม ChatGPT, Gemini แต่คำถามคือเมื่อกระโดดเข้าสู่เทคโนโลยีใหม่ ๆ ช่องทางใหม่ เรารู้หรือเปล่าว่า AI ที่เราใช้อะไรอยู่เบื้องหลังตรงนั้นบ้าง เรารู้วิธีใช้เราไปถึงตรงนั้นแต่เราอาจจะยังไม่ได้เข้าใจวิธีการจัดการ ซึ่งสินค้าข้อมูลข่าวสารเป็นสินค้าสาธารณะ ซึ่งเรามีหน้าที่บทบาทในการทำสิ่งเหล่านี้ให้กับประชาชน ผมมองเรื่องของ Pestel Analysis คือโมเดลการวิเคราะห์ในภาพรวม ผมมองเป็นสองมิติ มิติหนึ่งก็คือว่าถ้าเรามีหน้าที่ในการส่งสินค้าหรือข่าวสาร Politics ไทยพีบีเอสเป็นตัวต่อเนื่องจาก itv ที่เกิดขึ้นหลังพฤษภาที่มีคนล้มตายเพราะเข้าไม่ถึงข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาเพราะโครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นกับไทยพีบีเอสผ่านมายังมีคนล้มตาย ด้วยอาจจะเข้าไม่ถึงข้อมูลมีคนควบคุมข้อมูลคนสังเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเพียงพอให้  […]

Decode
Journalism

คงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ศรัทธา DATA และความจริง วิสัยทัศน์ ‘หมออรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ’

Reading Time: 8 minutesสวัสดีคณะกรรมการทุกท่านนะครับ ผมทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศครับ ขออนุญาตอธิบายตัวเองนิดนึงสั้น ๆ ผมเป็นนักบริหาร เป็นนักสื่อสาร เป็นนักประสาน 10 ทิศนะครับ มีความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีแล้วก็ข้อมูล แล้วก็มีแพชชันเรื่องของการสร้างสุขสาธารณะนะครับ ที่พูดสั้น ๆ แบบนี้เพราะว่าแบ็คกราวน์ผมเริ่มตั้งแต่ผมเป็นทันตแพทย์ จบคณะการแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 35 อันเป็นการจบทางด้านวิชาชีพ แต่ว่าบทเรียนชีวิตให้อยู่ในสังคมได้จะเป็นกิจกรรมนักศึกษา ผมทํากิจกรรมนักศึกษามาตั้งแต่ปีหนึ่ง จำได้ว่าปีหนึ่งเนี่ยเกรด 2.41 เทอมหนึ่งนะฮะ เทอม 2 ไปเป็นประธานรุ่น เกรดเหลือ 2.14 นะครับ ทํามาหลายชมรมมาก แสงเสียงประชาสัมพันธ์และปี 6 เนี่ยได้รับเลือกเป็นนายกสโมฯ อันนั้นสอนการอยู่ในสังคมว่าอยู่ได้ยังไง จบแล้วไปทํางานอยู่ต่างจังหวัด ไปอยู่ที่โรงพยาบาลจังหวัดแพร่ ไกลมากเลยนะครับ ไปที่นั่นไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือทํางาน ในขณะที่รอเครื่องไม้เครื่องมือทํางานเนี่ย ผมมีกีต้าร์เป็นอาวุธฮะ ไปทําความรู้จักพูดไปวันไหน เขาไม่รู้จักหมอฟันคือใครก็เข้าไปที่โรงเรียน เข้าไปที่ชุมชนเอากีตาร์ไปร้องรําทําเพลงให้เขารู้จักเรา มันก็ได้ผล พอตอนที่ทํางานจริง ๆ เนี่ยไม่กลัวหมอฟันแล้วนะครับ หลังจากนั้นผมไปเรียนต่อ ผมชอบเทคโนโลยีก็เลือกไปเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ที่คณะวิศวะ จุฬาฯ ครับ อยากจะเรียนดูว่าเทคโนโลยีมันเป็นยังไง ผมทําวิทยานิพนธ์เรื่องของการออกแบบฟันปลอมบางส่วนถอดได้ […]

Decode
Journalism

โต้คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง สู่ Impact Maker วิสัยทัศน์ ‘รัฐศาสตร์ กรสูต’

Reading Time: 5 minutes“ขอสวัสดีท่านคณะกรรมการนะครับ รวมถึงทุกท่านทางบ้านด้วย รัฐศาสตร์ กรสูตร ผู้รับการสมัครสรรหาผอ. ThaiPBS นะครับ วันนี้ผมมาพบกับทุกท่านนะครับเพราะผมเชื่อว่าในทุกความเปลี่ยนแปลงย่อมนำมาซึ่งความเป็นไปได้ที่ดีกว่าเสมอนะครับ ผมเป็นคนแรกวันนี้” ผมเริ่มงานครั้งแรกในชีวิตเนี่ยตอนอายุ 17 ตอนเรียนปี 1 ที่ธรรมศาสตร์ผมได้รับ โอกาสไปเป็นศิลปินในค่ายแกรมมี่ ตอนนั้นมันคล้าย ๆ กับโรงเรียนแรกของผมที่ทำให้ผมได้เรียนรู้ถึงอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ที่นี่ผมได้พบกับเพื่อนพี่น้องมากมายที่วันนี้ก็ยังเป็นเพื่อนกันอยู่นะครับเรายังพูดคุยกัน ติดต่อสื่อสารกันผมมี mindset เดียวกับพวกเขา ผมพูดภาษาเดียวกับพวกเขา เพราะว่าผมเองก็เป็นหนึ่งในพวกเขาเหมือนกัน นี่เป็นที่แรกที่ทำให้ผมได้ค้นพบว่า พลังของดิจิทัลรุนแรงมหาศาลขนาดไหน “ผมได้เห็นองค์กรที่ต้องรับมือกับความท้าทายของความเปลี่ยนแปลงเรื่องของ technology มันเป็น Wave of Digital Disruption ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวงการอุตสาหกรรมเพลงไม่เหมือนเดิมอีก และที่ทำให้ผมตัดสินใจไปเรียนต่อ ปริญญาโทด้านไอทีเพื่อที่จะจบกลับมาทำงานด้านวงการไอที ทำซอฟต์แวร์ SAP ทำ Telecom ในช่วงนั้นเนี่ยเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมไทยเนี่ยค่อย ๆ เปลี่ยนการสื่อสารเนี่ยจากสื่อดั้งเดิมไปเป็นสื่อใหม่ที่เรียกว่าสื่อออนไลน์” “ผมเองก็ทำงานและเติบโตอยู่ในช่วงนั้นจนกระทั่งช่วงปี 2010 ผมได้มีโอกาสทำงานกับบริษัทเนซen เป็นผู้บริหารครั้งแรกดูแลเว็บไซต์ sanook.com เป็นเว็บอันดับ 1 ของประเทศไทย ณ ตอนนั้น ที่นี่พอ เริ่มงานแรกก็เจอ wave ที่ 2 ซัดเข้ามา มันเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมสื่อมันเริ่มเปลี่ยน […]

Decode
Welfare state

เลือกแล้วที่จะ…

Reading Time: 2 minutesจุดร่วมของพวกเขาที่พบนอกเหนือจากอาการป่วยที่หนักหนาและความเป็นคนไร้บ้าน พวกเขามักปฏิเสธการช่วยเหลือให้ได้เข้าสู่การรักษาในโรงพยาบาล ทำไมเขาถึงเลือกแบบนั้น ทำไม… เป็นคำถามค้างคาใจอยู่พอสมควร คำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบจากเจ้าตัว คนที่เลือกแล้วที่จะไม่ไปโรงพยาบาล

สิทธิพล ชูประจง
Backpack Journalist,Documentary,Sustainability,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Environment

ภาวะโลกเดือดกับชะตากรรมของมหาสมุทร (ตอนที่ 2) มหันตภัยปะการังฟอกขาว

Reading Time: 3 minutesปัจจุบันปะการังหลายแห่งอยู่ในสภาวะเสื่อมโทรมอันเนื่องมาจากมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นมลภาวะขยะ ตะกอนจากการพัฒนาชายฝั่ง และการทำประมงมากเกินขนาด รวมไปถึงการท่องเที่ยวที่ไม่รับผิดชอบ  

ดร.เพชร มโนปวิตร
Columnist,Environment

ไฟป่าและฝุ่นควัน PM2.5 ในโลกที่ไม่เหมือนเดิม

Reading Time: < 1 minuteเรากำลังอยู่ในสงคราม (กับไฟป่า) สองสามสัปดาห์จากนี้เราต้องเฝ้าระวังอย่างเต็มที่ วิกฤติด้านสภาพภูมิอากาศอยู่ตรงหน้าเราแล้ว และมันจะส่งผลกระทบไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียน ด้วยภัยพิบัติที่รุนแรงยิ่งกว่านี้

ดร.เพชร มโนปวิตร
Futurism,Gender & Sexuality

เซ็กซ์ในอวกาศ ธรรมชาติของมนุษย์ที่ไม่ใช่เรื่องศีลธรรม

Reading Time: < 1 minuteในโลกของวิทยาศาสตร์ที่พามนุษย์ไปได้ไกลถึงอวกาศ กำลังมองไปถึงวิวัฒนาการของเซ็กซ์ในอวกาศ

นิศาชล คำลือ

GRID • CONTENT

‘สื่อสาธารณะของทุกคน’ ไม่ใช่แค่สโลแกน อ่านวิสัยทัศน์ ‘วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์’

Reading Time: 7 minutes“ก็ขอบคุณนะครับท่านกรรมการสรรหา แล้วก็ขอถือโอกาส สวัสดีผู้ชมทางบ้านนะครับ ก่อนอื่นก็ต้องขออภัยนิดนึงนะครับ เพราะว่าเพิ่งกลับจากอิตาลีเมื่อคืนนี้ ก็ยังเจ็ตแล็กอยู่ อาจจะเบลอ ๆ เล็กน้อย” “ก็ผมขอพูดสั้น ๆ นะครับว่ามีวิสัยทัศน์และแนวคิดเชิงกลยุทธ์ 6 ประเด็นเนี่ย ก่อนอื่นผมอยากจะพูดถึงสิ่งที่อยู่ในใจผม ว่าในฐานะที่ทําสื่อมา 30 กว่าปี สื่อสาธารณะของทุกคน ไม่ใช่สโลแกนนะครับ แต่ว่าเป็นคําถามในใจผมมาตลอด ว่าไทยพีบีเอสที่มีอายุ 17 ปี วันนี้เป็นสื่อสาธารณะของทุกคนหรือยัง” “เพราะว่าอันนี้เป็นคําถามที่สําคัญมากในความรู้สึกของผมนะครับ คือ สื่อสาธารณะคืออะไร ในความหมายของผม ผมอธิบายสั้น ๆ นะครับว่ามันเหมือนกับเป็นห้างสรรพสินค้าห้างนึง แล้วก็มี พวกเรานะครับ มาเปิดร้านขายของ แต่ในขณะเดียวกันเนี่ย เราก็เปิดโอกาสให้คนอื่น ๆ มาเปิดร้านขายของด้วยนะครับ แต่แน่นอนว่าในฐานะที่เราเป็นคนดูแลห้างสรรพสินค้านี้ เราก็ควรจะมีคนที่มาร้านค้าต่าง ๆ เนี่ย มีเสน่ห์ดึงดูดพอสมควร ไม่ใช่ เอ๊ะอะไรใครก็ได้นะครับ ประเภทของร้านอาหารที่เข้ามาทําเนี่ย มันก็คือ agenda ของพวกเราที่ว่าปีนี้เราอยากจะทําเรื่องสิทธิมนุษยชน เราอยากจะทําเรื่องผู้หญิง เราอยากจะทําเรื่อง whatever นะครับ เราก็เชิญร้านค้าเหล่านี้มาทําอาหาร […]

‘สื่อเพื่อการเปลี่ยนผ่าน’ ก้าวต่อไป…ในวิสัยทัศน์ ‘ปัทมาวดี โพชนุกูล’

Reading Time: 3 minutesดิฉันเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลังจากลงจากตำแหน่ง ได้ไปทำงานกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเริ่มจากตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ ต่อด้วยผู้อำนวยการฝ่ายชุมชนและสังคม และสุดท้ายเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ ซึ่งดูแล Strategic Issues หรือประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 8 ประเด็นหลักของ สกว. ก่อนที่องค์กรจะมีการปรับโครงสร้างเป็นสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ในช่วงเปลี่ยนผ่านเป็น สกสว. ดิฉันได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และได้มีบทบาทในการวางระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมของประเทศ ทั้งในด้านการจัดทำแผนและจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงานกว่า 190 แห่ง ทำให้ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับทั้งหน่วยงานวิชาการและภาครัฐหลายแห่ง โดยใช้ “ข้อมูลและความรู้” เป็นเครื่องมือในการออกแบบการทำงาน ดิฉันเชื่ออย่างยิ่งว่า “ข้อมูลและความรู้” เป็นหัวใจของการปฏิรูประบบราชการ แต่น่าเสียดายที่ภาครัฐยังไม่เห็นความสำคัญของเรื่องนี้มากนัก เมื่อมีโอกาสได้เข้ามาร่วมกระบวนการกับไทยพีบีเอส ดิฉันมองว่า หากมีพื้นที่ให้ทำงาน ก็อยากผลักดันให้เกิดการใช้ข้อมูลและความรู้ในการขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เพื่อสังคมหรือประชาชนเท่านั้น แต่รวมถึงภาครัฐเอง ที่ต้องตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ข้อมูล ความรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ในช่วงที่ทำงานอยู่กับคณะเศรษฐศาสตร์ ดิฉันเคยมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินไทยพีบีเอส ได้มีโอกาสไปลงพื้นที่ที่สถานีต่างจังหวัด ไปพูดคุยกับสภาผู้ชมผู้ฟัง นักข่าวพลเมือง และสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้พอเข้าใจภาพรวมขององค์กร แม้สถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากก็ตาม […]

Game Changer ในภูมิทัศน์สื่อแปรปรวน วิสัยทัศน์ ‘อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์’

Reading Time: 6 minutesผมเชื่อว่าเราน่าจะเห็นภาพกันพอสมควรว่า ธุรกิจที่เติบโตมา 40-50 ปี วิทยุโทรทัศน์-วิทยุกระจายเสียง ถูกสื่อใหม่ช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีแย่งชิงมวลชนอย่างราบคาบ แต่ถามว่าเราจะต้องทิ้งธุรกิจวิทยุโทรทัศน์ไหม ? มันคงเป็นไปไม่ได้ มันเป็นสื่อที่มีต้นทุนการเข้าถึงต่ำมากๆ โดยเฉพาะคนที่ด้อยโอกาสขาดโอกาส ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ สิ่งที่เราจะต้องตอบโจทย์เรื่องทีวีให้ได้ก็คือ ’คุณค่าและคุ้มค่า‘ เรามักจะพูดถึงความมีคุณค่าของสถานีหรือองค์การเราเสมอ แต่เราก็มักจะถูกตั้งคำถามถึงความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจอยู่เสมอ และค่อนขอดด้วยเงิน 2,000 ล้าน++ อยู่เสมอ อันนี้เป็นประเด็นที่ผมคิดว่ากับทีวีกับสื่อดั้งเดิมเรายังจำเป็นต้องยึดเอาไว้ ขณะเดียวกันสื่อใหม่เราต้องปรับตัว ปรับตัวไม่ได้หมายถึงการกระโจนเข้าสู่สื่อใหม่ในแบบที่ทุกแพลตฟอร์มทุกพื้นที่ แต่เราต้องทำความเข้าใจกับสิ่งนั้นอย่างลึกซึ้ง วันนี้เจนเอ็กซ์เจนวายค้นหาข้อมูลผ่าน Google เจนซีค้นหาผ่าน TikTok เจนอัลฟ่าบอกวันนี้ถาม ChatGPT, Gemini แต่คำถามคือเมื่อกระโดดเข้าสู่เทคโนโลยีใหม่ ๆ ช่องทางใหม่ เรารู้หรือเปล่าว่า AI ที่เราใช้อะไรอยู่เบื้องหลังตรงนั้นบ้าง เรารู้วิธีใช้เราไปถึงตรงนั้นแต่เราอาจจะยังไม่ได้เข้าใจวิธีการจัดการ ซึ่งสินค้าข้อมูลข่าวสารเป็นสินค้าสาธารณะ ซึ่งเรามีหน้าที่บทบาทในการทำสิ่งเหล่านี้ให้กับประชาชน ผมมองเรื่องของ Pestel Analysis คือโมเดลการวิเคราะห์ในภาพรวม ผมมองเป็นสองมิติ มิติหนึ่งก็คือว่าถ้าเรามีหน้าที่ในการส่งสินค้าหรือข่าวสาร Politics ไทยพีบีเอสเป็นตัวต่อเนื่องจาก itv ที่เกิดขึ้นหลังพฤษภาที่มีคนล้มตายเพราะเข้าไม่ถึงข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาเพราะโครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นกับไทยพีบีเอสผ่านมายังมีคนล้มตาย ด้วยอาจจะเข้าไม่ถึงข้อมูลมีคนควบคุมข้อมูลคนสังเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเพียงพอให้  […]

คงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ศรัทธา DATA และความจริง วิสัยทัศน์ ‘หมออรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ’

Reading Time: 8 minutesสวัสดีคณะกรรมการทุกท่านนะครับ ผมทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศครับ ขออนุญาตอธิบายตัวเองนิดนึงสั้น ๆ ผมเป็นนักบริหาร เป็นนักสื่อสาร เป็นนักประสาน 10 ทิศนะครับ มีความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีแล้วก็ข้อมูล แล้วก็มีแพชชันเรื่องของการสร้างสุขสาธารณะนะครับ ที่พูดสั้น ๆ แบบนี้เพราะว่าแบ็คกราวน์ผมเริ่มตั้งแต่ผมเป็นทันตแพทย์ จบคณะการแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 35 อันเป็นการจบทางด้านวิชาชีพ แต่ว่าบทเรียนชีวิตให้อยู่ในสังคมได้จะเป็นกิจกรรมนักศึกษา ผมทํากิจกรรมนักศึกษามาตั้งแต่ปีหนึ่ง จำได้ว่าปีหนึ่งเนี่ยเกรด 2.41 เทอมหนึ่งนะฮะ เทอม 2 ไปเป็นประธานรุ่น เกรดเหลือ 2.14 นะครับ ทํามาหลายชมรมมาก แสงเสียงประชาสัมพันธ์และปี 6 เนี่ยได้รับเลือกเป็นนายกสโมฯ อันนั้นสอนการอยู่ในสังคมว่าอยู่ได้ยังไง จบแล้วไปทํางานอยู่ต่างจังหวัด ไปอยู่ที่โรงพยาบาลจังหวัดแพร่ ไกลมากเลยนะครับ ไปที่นั่นไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือทํางาน ในขณะที่รอเครื่องไม้เครื่องมือทํางานเนี่ย ผมมีกีต้าร์เป็นอาวุธฮะ ไปทําความรู้จักพูดไปวันไหน เขาไม่รู้จักหมอฟันคือใครก็เข้าไปที่โรงเรียน เข้าไปที่ชุมชนเอากีตาร์ไปร้องรําทําเพลงให้เขารู้จักเรา มันก็ได้ผล พอตอนที่ทํางานจริง ๆ เนี่ยไม่กลัวหมอฟันแล้วนะครับ หลังจากนั้นผมไปเรียนต่อ ผมชอบเทคโนโลยีก็เลือกไปเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ที่คณะวิศวะ จุฬาฯ ครับ อยากจะเรียนดูว่าเทคโนโลยีมันเป็นยังไง ผมทําวิทยานิพนธ์เรื่องของการออกแบบฟันปลอมบางส่วนถอดได้ […]

โต้คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง สู่ Impact Maker วิสัยทัศน์ ‘รัฐศาสตร์ กรสูต’

Reading Time: 5 minutes“ขอสวัสดีท่านคณะกรรมการนะครับ รวมถึงทุกท่านทางบ้านด้วย รัฐศาสตร์ กรสูตร ผู้รับการสมัครสรรหาผอ. ThaiPBS นะครับ วันนี้ผมมาพบกับทุกท่านนะครับเพราะผมเชื่อว่าในทุกความเปลี่ยนแปลงย่อมนำมาซึ่งความเป็นไปได้ที่ดีกว่าเสมอนะครับ ผมเป็นคนแรกวันนี้” ผมเริ่มงานครั้งแรกในชีวิตเนี่ยตอนอายุ 17 ตอนเรียนปี 1 ที่ธรรมศาสตร์ผมได้รับ โอกาสไปเป็นศิลปินในค่ายแกรมมี่ ตอนนั้นมันคล้าย ๆ กับโรงเรียนแรกของผมที่ทำให้ผมได้เรียนรู้ถึงอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ที่นี่ผมได้พบกับเพื่อนพี่น้องมากมายที่วันนี้ก็ยังเป็นเพื่อนกันอยู่นะครับเรายังพูดคุยกัน ติดต่อสื่อสารกันผมมี mindset เดียวกับพวกเขา ผมพูดภาษาเดียวกับพวกเขา เพราะว่าผมเองก็เป็นหนึ่งในพวกเขาเหมือนกัน นี่เป็นที่แรกที่ทำให้ผมได้ค้นพบว่า พลังของดิจิทัลรุนแรงมหาศาลขนาดไหน “ผมได้เห็นองค์กรที่ต้องรับมือกับความท้าทายของความเปลี่ยนแปลงเรื่องของ technology มันเป็น Wave of Digital Disruption ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวงการอุตสาหกรรมเพลงไม่เหมือนเดิมอีก และที่ทำให้ผมตัดสินใจไปเรียนต่อ ปริญญาโทด้านไอทีเพื่อที่จะจบกลับมาทำงานด้านวงการไอที ทำซอฟต์แวร์ SAP ทำ Telecom ในช่วงนั้นเนี่ยเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมไทยเนี่ยค่อย ๆ เปลี่ยนการสื่อสารเนี่ยจากสื่อดั้งเดิมไปเป็นสื่อใหม่ที่เรียกว่าสื่อออนไลน์” “ผมเองก็ทำงานและเติบโตอยู่ในช่วงนั้นจนกระทั่งช่วงปี 2010 ผมได้มีโอกาสทำงานกับบริษัทเนซen เป็นผู้บริหารครั้งแรกดูแลเว็บไซต์ sanook.com เป็นเว็บอันดับ 1 ของประเทศไทย ณ ตอนนั้น ที่นี่พอ เริ่มงานแรกก็เจอ wave ที่ 2 ซัดเข้ามา มันเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมสื่อมันเริ่มเปลี่ยน […]

พรรคราชการไม่มีวันตาย

Reading Time: 2 minutesก่อนจะถึงบรรทัดสุดท้าย ก็ ‘เบื่อหน่าย’ ซะก่อน หลายปีมานี้คนไทยยื่นภาษีง่ายขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ใช่ ใช่ มันง่ายและสะดวกมากขึ้น เป็นวิธีการที่พยายามอำนวยความสะดวก ลดรูปความเป็นราชการโดยใช้ระบบออนไลน์เป็นตัวช่วย แต่แค่ลดรูปเท่านั้น รากทางความคิดเชิงระบบระเบียบยังอยู่ ต้นปี 2568 เพื่อนของเรายื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ ผ่านไปหลายเดือนจนเราได้เงินภาษีโอนคืนมา แต่ใน User ของเพื่อนยังแจ้งเตือนในระบบว่าขอเอกสารเพิ่ม เขาส่งเอกสารเข้าระบบตามที่มีการแจ้งว่ายังขาด มันน่าจะจบใช่ไหม ? แต่ยัง ยังไม่ได้เงินคืนแม้เวลาผ่านไปนานหลายเดือนจนเกือบถอดใจ ได้ภาษีคืนรึยัง ? เราถาม เพราะความยุ่งยากในการติดต่อเจ้าหน้าที่ทำให้เราไม่ได้รับคำถาม คำถามที่ว่าวนซ้ำมากกว่า 3 ครั้งในรอบหนึ่งเดือน ในที่สุดเพื่อนของเราก็ต่อสายโทรกลับไปที่เจ้าหน้าที่ภาษีในจังหวัดชุมพร แต่เจ้าหน้าที่สรรพากรบอกเรื่องการยื่นเอกสารเพิ่มเติมดังกล่าวยังค้างอยู่ที่ศูนย์ใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างเดียวที่ทำได้คือ รอ รอ รอต่อไป                          เดือนเศษไม่ได้รับการตอบกลับจากเจ้าหน้าที่ ผู้ยื่นภาษีติดต่อไปผ่านเบอร์โทรศัพท์หน่วยงานราชการ และอย่างที่รู้โทรไม่สำเร็จในครั้งแรก หลายวันต่อก็ยังโทรจนโชคเข้าข้าง หลังรอสายอยู่หลายนาทีเจ้าหน้าที่ปลายสายแจ้งว่ามีการกรอกหมวดหมู่ที่มารายได้พิเศษผิดประเภท ผู้ยื่นภาษียืนยันกลับว่า ไม่มีหมวดหมู่ดังกล่าวในระบบ และเราเองซึ่งมีรายรับในหมวดหมู่เดียวกันนั้นก็ยืนยันว่าไม่มีหมวดหมู่ให้เลือกกรอกตามที่เจ้าหน้าที่อ้าง ตัวเราจึงเลือกกรอกหมวดหมู่อื่นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งไม่พบปัญหาเพราะได้เงินคืนมาจากสรรพากรมา 3-4 เดือนก่อนหน้านี้แล้ว เจ้าหน้าที่ปลายสายตอบกลับหลังคุยเป็นเวลาหลายนาที เธอบอกให้เขาเขียนเอกสารชี้แจงและขอแก้ไขหมวดหมู่เงินได้ใหม่ด้วยลายมือ เขียนในกระดาษแล้วลงนามกำกับ จากนั้นก็อัปโหลดลงในระบบออนไลน์ เจ้าหน้าที่เธอต้องการเอกสารที่ว่าไปทำไมกัน ทั้ง ๆ […]

เลือกแล้วที่จะ…

Reading Time: 2 minutesจุดร่วมของพวกเขาที่พบนอกเหนือจากอาการป่วยที่หนักหนาและความเป็นคนไร้บ้าน พวกเขามักปฏิเสธการช่วยเหลือให้ได้เข้าสู่การรักษาในโรงพยาบาล ทำไมเขาถึงเลือกแบบนั้น ทำไม… เป็นคำถามค้างคาใจอยู่พอสมควร คำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบจากเจ้าตัว คนที่เลือกแล้วที่จะไม่ไปโรงพยาบาล

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

2475 นักเขียนผีแห่งสยาม อุดมการณ์อาจเลือนหาย แต่หมึกปากกายังอยู่

Reading Time: 3 minutesนี่คือเรื่องราวของนักเขียนผีแห่งสยาม ในประเทศที่หลายครั้งใครบางคนพยายามทำให้นักข่าวต้องกลายเป็นผีไปเสียเอง ความจริงผ่านน้ำหมึกที่นิภาใช้เพื่อสร้างเสรีภาพของสื่อผ่านการเป็นประจักษ์พยานความเหลื่อมล้ำในรัชสมัยแห่งการเปลี่ยนผ่าน

ประสบความสำเร็จในชีวิต

Reading Time: < 1 minuteในฐานะมนุษย์หนึ่งคน  เรายังต้องการมากกว่านั้น  …เราต้องการความหวัง  ต้องการมีความรู้ความสามารถที่จะยกระดับความเป็นอยู่ของตัวเองได้  ซึ่งก็แปลว่าเราต้องได้รับการศึกษาอย่างน้อยก็ขั้นพื้นฐาน  …ฟรี  และทั่วถึงเท่าเทียม  ต้องการมีงานรองรับตามความถนัดและศักยภาพ  รวมทั้งได้รับค่าตอบแทนเหมาะสมกับขีดขั้นความสามารถ เหล่านี้คือสิ่งที่เรียกว่า’รัฐสวัสดิการ’  ซึ่งประชากรทุกคนควรได้รับในฐานะผู้จ่ายภาษี   

RT Thailand เป็นทางเลือกหรือแค่ไร้เดียงสา

Reading Time: 2 minutesDecode ต่อสายตรงสัมภาษณ์ คุณอธึกกิต แสวงสุข คอลัมนิสต์เจ้าของนามปากกา “ใบตองแห้ง” ถึงความเห็นต่อประเด็นดังกล่าวผ่านมุมมองอดีตคนเคยเข้าป่า

MIX

Journalism

‘สื่อสาธารณะของทุกคน’ ไม่ใช่แค่สโลแกน อ่านวิสัยทัศน์ ‘วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์’

Reading Time: 7 minutes“ก็ขอบคุณนะครับท่านกรรมการสรรหา แล้วก็ขอถือโอกาส สวัสดีผู้ชมทางบ้านนะครับ ก่อนอื่นก็ต้องขออภัยนิดนึงนะครับ เพราะว่าเพิ่งกลับจากอิตาลีเมื่อคืนนี้ ก็ยังเจ็ตแล็กอยู่ อาจจะเบลอ ๆ เล็กน้อย” “ก็ผมขอพูดสั้น ๆ นะครับว่ามีวิสัยทัศน์และแนวคิดเชิงกลยุทธ์ 6 ประเด็นเนี่ย ก่อนอื่นผมอยากจะพูดถึงสิ่งที่อยู่ในใจผม ว่าในฐานะที่ทําสื่อมา 30 กว่าปี สื่อสาธารณะของทุกคน ไม่ใช่สโลแกนนะครับ แต่ว่าเป็นคําถามในใจผมมาตลอด ว่าไทยพีบีเอสที่มีอายุ 17 ปี วันนี้เป็นสื่อสาธารณะของทุกคนหรือยัง” “เพราะว่าอันนี้เป็นคําถามที่สําคัญมากในความรู้สึกของผมนะครับ คือ สื่อสาธารณะคืออะไร ในความหมายของผม ผมอธิบายสั้น ๆ นะครับว่ามันเหมือนกับเป็นห้างสรรพสินค้าห้างนึง แล้วก็มี พวกเรานะครับ มาเปิดร้านขายของ แต่ในขณะเดียวกันเนี่ย เราก็เปิดโอกาสให้คนอื่น ๆ มาเปิดร้านขายของด้วยนะครับ แต่แน่นอนว่าในฐานะที่เราเป็นคนดูแลห้างสรรพสินค้านี้ เราก็ควรจะมีคนที่มาร้านค้าต่าง ๆ เนี่ย มีเสน่ห์ดึงดูดพอสมควร ไม่ใช่ เอ๊ะอะไรใครก็ได้นะครับ ประเภทของร้านอาหารที่เข้ามาทําเนี่ย มันก็คือ agenda ของพวกเราที่ว่าปีนี้เราอยากจะทําเรื่องสิทธิมนุษยชน เราอยากจะทําเรื่องผู้หญิง เราอยากจะทําเรื่อง whatever นะครับ เราก็เชิญร้านค้าเหล่านี้มาทําอาหาร […]

Decode
Journalism

‘สื่อเพื่อการเปลี่ยนผ่าน’ ก้าวต่อไป…ในวิสัยทัศน์ ‘ปัทมาวดี โพชนุกูล’

Reading Time: 3 minutesดิฉันเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลังจากลงจากตำแหน่ง ได้ไปทำงานกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเริ่มจากตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ ต่อด้วยผู้อำนวยการฝ่ายชุมชนและสังคม และสุดท้ายเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ ซึ่งดูแล Strategic Issues หรือประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 8 ประเด็นหลักของ สกว. ก่อนที่องค์กรจะมีการปรับโครงสร้างเป็นสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ในช่วงเปลี่ยนผ่านเป็น สกสว. ดิฉันได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และได้มีบทบาทในการวางระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมของประเทศ ทั้งในด้านการจัดทำแผนและจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงานกว่า 190 แห่ง ทำให้ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับทั้งหน่วยงานวิชาการและภาครัฐหลายแห่ง โดยใช้ “ข้อมูลและความรู้” เป็นเครื่องมือในการออกแบบการทำงาน ดิฉันเชื่ออย่างยิ่งว่า “ข้อมูลและความรู้” เป็นหัวใจของการปฏิรูประบบราชการ แต่น่าเสียดายที่ภาครัฐยังไม่เห็นความสำคัญของเรื่องนี้มากนัก เมื่อมีโอกาสได้เข้ามาร่วมกระบวนการกับไทยพีบีเอส ดิฉันมองว่า หากมีพื้นที่ให้ทำงาน ก็อยากผลักดันให้เกิดการใช้ข้อมูลและความรู้ในการขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เพื่อสังคมหรือประชาชนเท่านั้น แต่รวมถึงภาครัฐเอง ที่ต้องตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ข้อมูล ความรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ในช่วงที่ทำงานอยู่กับคณะเศรษฐศาสตร์ ดิฉันเคยมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินไทยพีบีเอส ได้มีโอกาสไปลงพื้นที่ที่สถานีต่างจังหวัด ไปพูดคุยกับสภาผู้ชมผู้ฟัง นักข่าวพลเมือง และสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้พอเข้าใจภาพรวมขององค์กร แม้สถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากก็ตาม […]

Decode
Journalism,News

Game Changer ในภูมิทัศน์สื่อแปรปรวน วิสัยทัศน์ ‘อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์’

Reading Time: 6 minutesผมเชื่อว่าเราน่าจะเห็นภาพกันพอสมควรว่า ธุรกิจที่เติบโตมา 40-50 ปี วิทยุโทรทัศน์-วิทยุกระจายเสียง ถูกสื่อใหม่ช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีแย่งชิงมวลชนอย่างราบคาบ แต่ถามว่าเราจะต้องทิ้งธุรกิจวิทยุโทรทัศน์ไหม ? มันคงเป็นไปไม่ได้ มันเป็นสื่อที่มีต้นทุนการเข้าถึงต่ำมากๆ โดยเฉพาะคนที่ด้อยโอกาสขาดโอกาส ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ สิ่งที่เราจะต้องตอบโจทย์เรื่องทีวีให้ได้ก็คือ ’คุณค่าและคุ้มค่า‘ เรามักจะพูดถึงความมีคุณค่าของสถานีหรือองค์การเราเสมอ แต่เราก็มักจะถูกตั้งคำถามถึงความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจอยู่เสมอ และค่อนขอดด้วยเงิน 2,000 ล้าน++ อยู่เสมอ อันนี้เป็นประเด็นที่ผมคิดว่ากับทีวีกับสื่อดั้งเดิมเรายังจำเป็นต้องยึดเอาไว้ ขณะเดียวกันสื่อใหม่เราต้องปรับตัว ปรับตัวไม่ได้หมายถึงการกระโจนเข้าสู่สื่อใหม่ในแบบที่ทุกแพลตฟอร์มทุกพื้นที่ แต่เราต้องทำความเข้าใจกับสิ่งนั้นอย่างลึกซึ้ง วันนี้เจนเอ็กซ์เจนวายค้นหาข้อมูลผ่าน Google เจนซีค้นหาผ่าน TikTok เจนอัลฟ่าบอกวันนี้ถาม ChatGPT, Gemini แต่คำถามคือเมื่อกระโดดเข้าสู่เทคโนโลยีใหม่ ๆ ช่องทางใหม่ เรารู้หรือเปล่าว่า AI ที่เราใช้อะไรอยู่เบื้องหลังตรงนั้นบ้าง เรารู้วิธีใช้เราไปถึงตรงนั้นแต่เราอาจจะยังไม่ได้เข้าใจวิธีการจัดการ ซึ่งสินค้าข้อมูลข่าวสารเป็นสินค้าสาธารณะ ซึ่งเรามีหน้าที่บทบาทในการทำสิ่งเหล่านี้ให้กับประชาชน ผมมองเรื่องของ Pestel Analysis คือโมเดลการวิเคราะห์ในภาพรวม ผมมองเป็นสองมิติ มิติหนึ่งก็คือว่าถ้าเรามีหน้าที่ในการส่งสินค้าหรือข่าวสาร Politics ไทยพีบีเอสเป็นตัวต่อเนื่องจาก itv ที่เกิดขึ้นหลังพฤษภาที่มีคนล้มตายเพราะเข้าไม่ถึงข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาเพราะโครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นกับไทยพีบีเอสผ่านมายังมีคนล้มตาย ด้วยอาจจะเข้าไม่ถึงข้อมูลมีคนควบคุมข้อมูลคนสังเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเพียงพอให้  […]

Decode
Journalism

คงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ศรัทธา DATA และความจริง วิสัยทัศน์ ‘หมออรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ’

Reading Time: 8 minutesสวัสดีคณะกรรมการทุกท่านนะครับ ผมทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศครับ ขออนุญาตอธิบายตัวเองนิดนึงสั้น ๆ ผมเป็นนักบริหาร เป็นนักสื่อสาร เป็นนักประสาน 10 ทิศนะครับ มีความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีแล้วก็ข้อมูล แล้วก็มีแพชชันเรื่องของการสร้างสุขสาธารณะนะครับ ที่พูดสั้น ๆ แบบนี้เพราะว่าแบ็คกราวน์ผมเริ่มตั้งแต่ผมเป็นทันตแพทย์ จบคณะการแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 35 อันเป็นการจบทางด้านวิชาชีพ แต่ว่าบทเรียนชีวิตให้อยู่ในสังคมได้จะเป็นกิจกรรมนักศึกษา ผมทํากิจกรรมนักศึกษามาตั้งแต่ปีหนึ่ง จำได้ว่าปีหนึ่งเนี่ยเกรด 2.41 เทอมหนึ่งนะฮะ เทอม 2 ไปเป็นประธานรุ่น เกรดเหลือ 2.14 นะครับ ทํามาหลายชมรมมาก แสงเสียงประชาสัมพันธ์และปี 6 เนี่ยได้รับเลือกเป็นนายกสโมฯ อันนั้นสอนการอยู่ในสังคมว่าอยู่ได้ยังไง จบแล้วไปทํางานอยู่ต่างจังหวัด ไปอยู่ที่โรงพยาบาลจังหวัดแพร่ ไกลมากเลยนะครับ ไปที่นั่นไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือทํางาน ในขณะที่รอเครื่องไม้เครื่องมือทํางานเนี่ย ผมมีกีต้าร์เป็นอาวุธฮะ ไปทําความรู้จักพูดไปวันไหน เขาไม่รู้จักหมอฟันคือใครก็เข้าไปที่โรงเรียน เข้าไปที่ชุมชนเอากีตาร์ไปร้องรําทําเพลงให้เขารู้จักเรา มันก็ได้ผล พอตอนที่ทํางานจริง ๆ เนี่ยไม่กลัวหมอฟันแล้วนะครับ หลังจากนั้นผมไปเรียนต่อ ผมชอบเทคโนโลยีก็เลือกไปเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ที่คณะวิศวะ จุฬาฯ ครับ อยากจะเรียนดูว่าเทคโนโลยีมันเป็นยังไง ผมทําวิทยานิพนธ์เรื่องของการออกแบบฟันปลอมบางส่วนถอดได้ […]

Decode
Journalism

โต้คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง สู่ Impact Maker วิสัยทัศน์ ‘รัฐศาสตร์ กรสูต’

Reading Time: 5 minutes“ขอสวัสดีท่านคณะกรรมการนะครับ รวมถึงทุกท่านทางบ้านด้วย รัฐศาสตร์ กรสูตร ผู้รับการสมัครสรรหาผอ. ThaiPBS นะครับ วันนี้ผมมาพบกับทุกท่านนะครับเพราะผมเชื่อว่าในทุกความเปลี่ยนแปลงย่อมนำมาซึ่งความเป็นไปได้ที่ดีกว่าเสมอนะครับ ผมเป็นคนแรกวันนี้” ผมเริ่มงานครั้งแรกในชีวิตเนี่ยตอนอายุ 17 ตอนเรียนปี 1 ที่ธรรมศาสตร์ผมได้รับ โอกาสไปเป็นศิลปินในค่ายแกรมมี่ ตอนนั้นมันคล้าย ๆ กับโรงเรียนแรกของผมที่ทำให้ผมได้เรียนรู้ถึงอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ที่นี่ผมได้พบกับเพื่อนพี่น้องมากมายที่วันนี้ก็ยังเป็นเพื่อนกันอยู่นะครับเรายังพูดคุยกัน ติดต่อสื่อสารกันผมมี mindset เดียวกับพวกเขา ผมพูดภาษาเดียวกับพวกเขา เพราะว่าผมเองก็เป็นหนึ่งในพวกเขาเหมือนกัน นี่เป็นที่แรกที่ทำให้ผมได้ค้นพบว่า พลังของดิจิทัลรุนแรงมหาศาลขนาดไหน “ผมได้เห็นองค์กรที่ต้องรับมือกับความท้าทายของความเปลี่ยนแปลงเรื่องของ technology มันเป็น Wave of Digital Disruption ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวงการอุตสาหกรรมเพลงไม่เหมือนเดิมอีก และที่ทำให้ผมตัดสินใจไปเรียนต่อ ปริญญาโทด้านไอทีเพื่อที่จะจบกลับมาทำงานด้านวงการไอที ทำซอฟต์แวร์ SAP ทำ Telecom ในช่วงนั้นเนี่ยเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมไทยเนี่ยค่อย ๆ เปลี่ยนการสื่อสารเนี่ยจากสื่อดั้งเดิมไปเป็นสื่อใหม่ที่เรียกว่าสื่อออนไลน์” “ผมเองก็ทำงานและเติบโตอยู่ในช่วงนั้นจนกระทั่งช่วงปี 2010 ผมได้มีโอกาสทำงานกับบริษัทเนซen เป็นผู้บริหารครั้งแรกดูแลเว็บไซต์ sanook.com เป็นเว็บอันดับ 1 ของประเทศไทย ณ ตอนนั้น ที่นี่พอ เริ่มงานแรกก็เจอ wave ที่ 2 ซัดเข้ามา มันเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมสื่อมันเริ่มเปลี่ยน […]

Decode
Crack Politics,Play Read

พรรคราชการไม่มีวันตาย

Reading Time: 2 minutesก่อนจะถึงบรรทัดสุดท้าย ก็ ‘เบื่อหน่าย’ ซะก่อน หลายปีมานี้คนไทยยื่นภาษีง่ายขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ใช่ ใช่ มันง่ายและสะดวกมากขึ้น เป็นวิธีการที่พยายามอำนวยความสะดวก ลดรูปความเป็นราชการโดยใช้ระบบออนไลน์เป็นตัวช่วย แต่แค่ลดรูปเท่านั้น รากทางความคิดเชิงระบบระเบียบยังอยู่ ต้นปี 2568 เพื่อนของเรายื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ ผ่านไปหลายเดือนจนเราได้เงินภาษีโอนคืนมา แต่ใน User ของเพื่อนยังแจ้งเตือนในระบบว่าขอเอกสารเพิ่ม เขาส่งเอกสารเข้าระบบตามที่มีการแจ้งว่ายังขาด มันน่าจะจบใช่ไหม ? แต่ยัง ยังไม่ได้เงินคืนแม้เวลาผ่านไปนานหลายเดือนจนเกือบถอดใจ ได้ภาษีคืนรึยัง ? เราถาม เพราะความยุ่งยากในการติดต่อเจ้าหน้าที่ทำให้เราไม่ได้รับคำถาม คำถามที่ว่าวนซ้ำมากกว่า 3 ครั้งในรอบหนึ่งเดือน ในที่สุดเพื่อนของเราก็ต่อสายโทรกลับไปที่เจ้าหน้าที่ภาษีในจังหวัดชุมพร แต่เจ้าหน้าที่สรรพากรบอกเรื่องการยื่นเอกสารเพิ่มเติมดังกล่าวยังค้างอยู่ที่ศูนย์ใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างเดียวที่ทำได้คือ รอ รอ รอต่อไป                          เดือนเศษไม่ได้รับการตอบกลับจากเจ้าหน้าที่ ผู้ยื่นภาษีติดต่อไปผ่านเบอร์โทรศัพท์หน่วยงานราชการ และอย่างที่รู้โทรไม่สำเร็จในครั้งแรก หลายวันต่อก็ยังโทรจนโชคเข้าข้าง หลังรอสายอยู่หลายนาทีเจ้าหน้าที่ปลายสายแจ้งว่ามีการกรอกหมวดหมู่ที่มารายได้พิเศษผิดประเภท ผู้ยื่นภาษียืนยันกลับว่า ไม่มีหมวดหมู่ดังกล่าวในระบบ และเราเองซึ่งมีรายรับในหมวดหมู่เดียวกันนั้นก็ยืนยันว่าไม่มีหมวดหมู่ให้เลือกกรอกตามที่เจ้าหน้าที่อ้าง ตัวเราจึงเลือกกรอกหมวดหมู่อื่นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งไม่พบปัญหาเพราะได้เงินคืนมาจากสรรพากรมา 3-4 เดือนก่อนหน้านี้แล้ว เจ้าหน้าที่ปลายสายตอบกลับหลังคุยเป็นเวลาหลายนาที เธอบอกให้เขาเขียนเอกสารชี้แจงและขอแก้ไขหมวดหมู่เงินได้ใหม่ด้วยลายมือ เขียนในกระดาษแล้วลงนามกำกับ จากนั้นก็อัปโหลดลงในระบบออนไลน์ เจ้าหน้าที่เธอต้องการเอกสารที่ว่าไปทำไมกัน ทั้ง ๆ […]

วิภาพร วัฒนวิทย์
Welfare state

เลือกแล้วที่จะ…

Reading Time: 2 minutesจุดร่วมของพวกเขาที่พบนอกเหนือจากอาการป่วยที่หนักหนาและความเป็นคนไร้บ้าน พวกเขามักปฏิเสธการช่วยเหลือให้ได้เข้าสู่การรักษาในโรงพยาบาล ทำไมเขาถึงเลือกแบบนั้น ทำไม… เป็นคำถามค้างคาใจอยู่พอสมควร คำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบจากเจ้าตัว คนที่เลือกแล้วที่จะไม่ไปโรงพยาบาล

สิทธิพล ชูประจง
Backpack Journalist,Documentary,Sustainability,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Conflict Resolution,Environment,News

จาก ‘วันหนึ่ง’ จนวันนี้ ทศวรรษของการช่วงชิงผืนป่าลำปาง

Reading Time: 6 minutesกว่าหนึ่งทศวรรษของนโยบายทวงคืนผืนป่า ทวงคืน 40% แห่งความสมบูรณ์ แลกมาซึ่งการสูญสิ้นซึ่งชีวิตชีวาของป่าไม้ และการอยู่ร่วมระหว่างคนกับป่าที่เป็นเพียง’วาทกรรม’

ธเนศ แสงทองศรีกมล

‘สื่อสาธารณะของทุกคน’ ไม่ใช่แค่สโลแกน อ่านวิสัยทัศน์ ‘วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์’

Reading Time: 7 minutes“ก็ขอบคุณนะครับท่านกรรมการสรรหา แล้วก็ขอถือโอกาส สวัสดีผู้ชมทางบ้านนะครับ ก่อนอื่นก็ต้องขออภัยนิดนึงนะครับ เพราะว่าเพิ่งกลับจากอิตาลีเมื่อคืนนี้ ก็ยังเจ็ตแล็กอยู่ อาจจะเบลอ ๆ เล็กน้อย” “ก็ผมขอพูดสั้น ๆ นะครับว่ามีวิสัยทัศน์และแนวคิดเชิงกลยุทธ์ 6 ประเด็นเนี่ย ก่อนอื่นผมอยากจะพูดถึงสิ่งที่อยู่ในใจผม ว่าในฐานะที่ทําสื่อมา 30 กว่าปี สื่อสาธารณะของทุกคน ไม่ใช่สโลแกนนะครับ แต่ว่าเป็นคําถามในใจผมมาตลอด ว่าไทยพีบีเอสที่มีอายุ 17 ปี วันนี้เป็นสื่อสาธารณะของทุกคนหรือยัง” “เพราะว่าอันนี้เป็นคําถามที่สําคัญมากในความรู้สึกของผมนะครับ คือ สื่อสาธารณะคืออะไร ในความหมายของผม ผมอธิบายสั้น ๆ นะครับว่ามันเหมือนกับเป็นห้างสรรพสินค้าห้างนึง แล้วก็มี พวกเรานะครับ มาเปิดร้านขายของ แต่ในขณะเดียวกันเนี่ย เราก็เปิดโอกาสให้คนอื่น ๆ มาเปิดร้านขายของด้วยนะครับ แต่แน่นอนว่าในฐานะที่เราเป็นคนดูแลห้างสรรพสินค้านี้ เราก็ควรจะมีคนที่มาร้านค้าต่าง ๆ เนี่ย มีเสน่ห์ดึงดูดพอสมควร ไม่ใช่ เอ๊ะอะไรใครก็ได้นะครับ ประเภทของร้านอาหารที่เข้ามาทําเนี่ย มันก็คือ agenda ของพวกเราที่ว่าปีนี้เราอยากจะทําเรื่องสิทธิมนุษยชน เราอยากจะทําเรื่องผู้หญิง เราอยากจะทําเรื่อง whatever นะครับ เราก็เชิญร้านค้าเหล่านี้มาทําอาหาร […]

‘สื่อเพื่อการเปลี่ยนผ่าน’ ก้าวต่อไป…ในวิสัยทัศน์ ‘ปัทมาวดี โพชนุกูล’

Reading Time: 3 minutesดิฉันเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลังจากลงจากตำแหน่ง ได้ไปทำงานกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเริ่มจากตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ ต่อด้วยผู้อำนวยการฝ่ายชุมชนและสังคม และสุดท้ายเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ ซึ่งดูแล Strategic Issues หรือประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 8 ประเด็นหลักของ สกว. ก่อนที่องค์กรจะมีการปรับโครงสร้างเป็นสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ในช่วงเปลี่ยนผ่านเป็น สกสว. ดิฉันได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และได้มีบทบาทในการวางระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมของประเทศ ทั้งในด้านการจัดทำแผนและจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงานกว่า 190 แห่ง ทำให้ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับทั้งหน่วยงานวิชาการและภาครัฐหลายแห่ง โดยใช้ “ข้อมูลและความรู้” เป็นเครื่องมือในการออกแบบการทำงาน ดิฉันเชื่ออย่างยิ่งว่า “ข้อมูลและความรู้” เป็นหัวใจของการปฏิรูประบบราชการ แต่น่าเสียดายที่ภาครัฐยังไม่เห็นความสำคัญของเรื่องนี้มากนัก เมื่อมีโอกาสได้เข้ามาร่วมกระบวนการกับไทยพีบีเอส ดิฉันมองว่า หากมีพื้นที่ให้ทำงาน ก็อยากผลักดันให้เกิดการใช้ข้อมูลและความรู้ในการขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เพื่อสังคมหรือประชาชนเท่านั้น แต่รวมถึงภาครัฐเอง ที่ต้องตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ข้อมูล ความรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ในช่วงที่ทำงานอยู่กับคณะเศรษฐศาสตร์ ดิฉันเคยมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินไทยพีบีเอส ได้มีโอกาสไปลงพื้นที่ที่สถานีต่างจังหวัด ไปพูดคุยกับสภาผู้ชมผู้ฟัง นักข่าวพลเมือง และสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้พอเข้าใจภาพรวมขององค์กร แม้สถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากก็ตาม […]

Game Changer ในภูมิทัศน์สื่อแปรปรวน วิสัยทัศน์ ‘อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์’

Reading Time: 6 minutesผมเชื่อว่าเราน่าจะเห็นภาพกันพอสมควรว่า ธุรกิจที่เติบโตมา 40-50 ปี วิทยุโทรทัศน์-วิทยุกระจายเสียง ถูกสื่อใหม่ช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีแย่งชิงมวลชนอย่างราบคาบ แต่ถามว่าเราจะต้องทิ้งธุรกิจวิทยุโทรทัศน์ไหม ? มันคงเป็นไปไม่ได้ มันเป็นสื่อที่มีต้นทุนการเข้าถึงต่ำมากๆ โดยเฉพาะคนที่ด้อยโอกาสขาดโอกาส ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ สิ่งที่เราจะต้องตอบโจทย์เรื่องทีวีให้ได้ก็คือ ’คุณค่าและคุ้มค่า‘ เรามักจะพูดถึงความมีคุณค่าของสถานีหรือองค์การเราเสมอ แต่เราก็มักจะถูกตั้งคำถามถึงความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจอยู่เสมอ และค่อนขอดด้วยเงิน 2,000 ล้าน++ อยู่เสมอ อันนี้เป็นประเด็นที่ผมคิดว่ากับทีวีกับสื่อดั้งเดิมเรายังจำเป็นต้องยึดเอาไว้ ขณะเดียวกันสื่อใหม่เราต้องปรับตัว ปรับตัวไม่ได้หมายถึงการกระโจนเข้าสู่สื่อใหม่ในแบบที่ทุกแพลตฟอร์มทุกพื้นที่ แต่เราต้องทำความเข้าใจกับสิ่งนั้นอย่างลึกซึ้ง วันนี้เจนเอ็กซ์เจนวายค้นหาข้อมูลผ่าน Google เจนซีค้นหาผ่าน TikTok เจนอัลฟ่าบอกวันนี้ถาม ChatGPT, Gemini แต่คำถามคือเมื่อกระโดดเข้าสู่เทคโนโลยีใหม่ ๆ ช่องทางใหม่ เรารู้หรือเปล่าว่า AI ที่เราใช้อะไรอยู่เบื้องหลังตรงนั้นบ้าง เรารู้วิธีใช้เราไปถึงตรงนั้นแต่เราอาจจะยังไม่ได้เข้าใจวิธีการจัดการ ซึ่งสินค้าข้อมูลข่าวสารเป็นสินค้าสาธารณะ ซึ่งเรามีหน้าที่บทบาทในการทำสิ่งเหล่านี้ให้กับประชาชน ผมมองเรื่องของ Pestel Analysis คือโมเดลการวิเคราะห์ในภาพรวม ผมมองเป็นสองมิติ มิติหนึ่งก็คือว่าถ้าเรามีหน้าที่ในการส่งสินค้าหรือข่าวสาร Politics ไทยพีบีเอสเป็นตัวต่อเนื่องจาก itv ที่เกิดขึ้นหลังพฤษภาที่มีคนล้มตายเพราะเข้าไม่ถึงข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาเพราะโครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นกับไทยพีบีเอสผ่านมายังมีคนล้มตาย ด้วยอาจจะเข้าไม่ถึงข้อมูลมีคนควบคุมข้อมูลคนสังเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเพียงพอให้  […]

คงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ศรัทธา DATA และความจริง วิสัยทัศน์ ‘หมออรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ’

Reading Time: 8 minutesสวัสดีคณะกรรมการทุกท่านนะครับ ผมทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศครับ ขออนุญาตอธิบายตัวเองนิดนึงสั้น ๆ ผมเป็นนักบริหาร เป็นนักสื่อสาร เป็นนักประสาน 10 ทิศนะครับ มีความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีแล้วก็ข้อมูล แล้วก็มีแพชชันเรื่องของการสร้างสุขสาธารณะนะครับ ที่พูดสั้น ๆ แบบนี้เพราะว่าแบ็คกราวน์ผมเริ่มตั้งแต่ผมเป็นทันตแพทย์ จบคณะการแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 35 อันเป็นการจบทางด้านวิชาชีพ แต่ว่าบทเรียนชีวิตให้อยู่ในสังคมได้จะเป็นกิจกรรมนักศึกษา ผมทํากิจกรรมนักศึกษามาตั้งแต่ปีหนึ่ง จำได้ว่าปีหนึ่งเนี่ยเกรด 2.41 เทอมหนึ่งนะฮะ เทอม 2 ไปเป็นประธานรุ่น เกรดเหลือ 2.14 นะครับ ทํามาหลายชมรมมาก แสงเสียงประชาสัมพันธ์และปี 6 เนี่ยได้รับเลือกเป็นนายกสโมฯ อันนั้นสอนการอยู่ในสังคมว่าอยู่ได้ยังไง จบแล้วไปทํางานอยู่ต่างจังหวัด ไปอยู่ที่โรงพยาบาลจังหวัดแพร่ ไกลมากเลยนะครับ ไปที่นั่นไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือทํางาน ในขณะที่รอเครื่องไม้เครื่องมือทํางานเนี่ย ผมมีกีต้าร์เป็นอาวุธฮะ ไปทําความรู้จักพูดไปวันไหน เขาไม่รู้จักหมอฟันคือใครก็เข้าไปที่โรงเรียน เข้าไปที่ชุมชนเอากีตาร์ไปร้องรําทําเพลงให้เขารู้จักเรา มันก็ได้ผล พอตอนที่ทํางานจริง ๆ เนี่ยไม่กลัวหมอฟันแล้วนะครับ หลังจากนั้นผมไปเรียนต่อ ผมชอบเทคโนโลยีก็เลือกไปเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ที่คณะวิศวะ จุฬาฯ ครับ อยากจะเรียนดูว่าเทคโนโลยีมันเป็นยังไง ผมทําวิทยานิพนธ์เรื่องของการออกแบบฟันปลอมบางส่วนถอดได้ […]

โต้คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง สู่ Impact Maker วิสัยทัศน์ ‘รัฐศาสตร์ กรสูต’

Reading Time: 5 minutes“ขอสวัสดีท่านคณะกรรมการนะครับ รวมถึงทุกท่านทางบ้านด้วย รัฐศาสตร์ กรสูตร ผู้รับการสมัครสรรหาผอ. ThaiPBS นะครับ วันนี้ผมมาพบกับทุกท่านนะครับเพราะผมเชื่อว่าในทุกความเปลี่ยนแปลงย่อมนำมาซึ่งความเป็นไปได้ที่ดีกว่าเสมอนะครับ ผมเป็นคนแรกวันนี้” ผมเริ่มงานครั้งแรกในชีวิตเนี่ยตอนอายุ 17 ตอนเรียนปี 1 ที่ธรรมศาสตร์ผมได้รับ โอกาสไปเป็นศิลปินในค่ายแกรมมี่ ตอนนั้นมันคล้าย ๆ กับโรงเรียนแรกของผมที่ทำให้ผมได้เรียนรู้ถึงอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ที่นี่ผมได้พบกับเพื่อนพี่น้องมากมายที่วันนี้ก็ยังเป็นเพื่อนกันอยู่นะครับเรายังพูดคุยกัน ติดต่อสื่อสารกันผมมี mindset เดียวกับพวกเขา ผมพูดภาษาเดียวกับพวกเขา เพราะว่าผมเองก็เป็นหนึ่งในพวกเขาเหมือนกัน นี่เป็นที่แรกที่ทำให้ผมได้ค้นพบว่า พลังของดิจิทัลรุนแรงมหาศาลขนาดไหน “ผมได้เห็นองค์กรที่ต้องรับมือกับความท้าทายของความเปลี่ยนแปลงเรื่องของ technology มันเป็น Wave of Digital Disruption ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวงการอุตสาหกรรมเพลงไม่เหมือนเดิมอีก และที่ทำให้ผมตัดสินใจไปเรียนต่อ ปริญญาโทด้านไอทีเพื่อที่จะจบกลับมาทำงานด้านวงการไอที ทำซอฟต์แวร์ SAP ทำ Telecom ในช่วงนั้นเนี่ยเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมไทยเนี่ยค่อย ๆ เปลี่ยนการสื่อสารเนี่ยจากสื่อดั้งเดิมไปเป็นสื่อใหม่ที่เรียกว่าสื่อออนไลน์” “ผมเองก็ทำงานและเติบโตอยู่ในช่วงนั้นจนกระทั่งช่วงปี 2010 ผมได้มีโอกาสทำงานกับบริษัทเนซen เป็นผู้บริหารครั้งแรกดูแลเว็บไซต์ sanook.com เป็นเว็บอันดับ 1 ของประเทศไทย ณ ตอนนั้น ที่นี่พอ เริ่มงานแรกก็เจอ wave ที่ 2 ซัดเข้ามา มันเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมสื่อมันเริ่มเปลี่ยน […]

พรรคราชการไม่มีวันตาย

Reading Time: 2 minutesก่อนจะถึงบรรทัดสุดท้าย ก็ ‘เบื่อหน่าย’ ซะก่อน หลายปีมานี้คนไทยยื่นภาษีง่ายขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ใช่ ใช่ มันง่ายและสะดวกมากขึ้น เป็นวิธีการที่พยายามอำนวยความสะดวก ลดรูปความเป็นราชการโดยใช้ระบบออนไลน์เป็นตัวช่วย แต่แค่ลดรูปเท่านั้น รากทางความคิดเชิงระบบระเบียบยังอยู่ ต้นปี 2568 เพื่อนของเรายื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ ผ่านไปหลายเดือนจนเราได้เงินภาษีโอนคืนมา แต่ใน User ของเพื่อนยังแจ้งเตือนในระบบว่าขอเอกสารเพิ่ม เขาส่งเอกสารเข้าระบบตามที่มีการแจ้งว่ายังขาด มันน่าจะจบใช่ไหม ? แต่ยัง ยังไม่ได้เงินคืนแม้เวลาผ่านไปนานหลายเดือนจนเกือบถอดใจ ได้ภาษีคืนรึยัง ? เราถาม เพราะความยุ่งยากในการติดต่อเจ้าหน้าที่ทำให้เราไม่ได้รับคำถาม คำถามที่ว่าวนซ้ำมากกว่า 3 ครั้งในรอบหนึ่งเดือน ในที่สุดเพื่อนของเราก็ต่อสายโทรกลับไปที่เจ้าหน้าที่ภาษีในจังหวัดชุมพร แต่เจ้าหน้าที่สรรพากรบอกเรื่องการยื่นเอกสารเพิ่มเติมดังกล่าวยังค้างอยู่ที่ศูนย์ใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างเดียวที่ทำได้คือ รอ รอ รอต่อไป                          เดือนเศษไม่ได้รับการตอบกลับจากเจ้าหน้าที่ ผู้ยื่นภาษีติดต่อไปผ่านเบอร์โทรศัพท์หน่วยงานราชการ และอย่างที่รู้โทรไม่สำเร็จในครั้งแรก หลายวันต่อก็ยังโทรจนโชคเข้าข้าง หลังรอสายอยู่หลายนาทีเจ้าหน้าที่ปลายสายแจ้งว่ามีการกรอกหมวดหมู่ที่มารายได้พิเศษผิดประเภท ผู้ยื่นภาษียืนยันกลับว่า ไม่มีหมวดหมู่ดังกล่าวในระบบ และเราเองซึ่งมีรายรับในหมวดหมู่เดียวกันนั้นก็ยืนยันว่าไม่มีหมวดหมู่ให้เลือกกรอกตามที่เจ้าหน้าที่อ้าง ตัวเราจึงเลือกกรอกหมวดหมู่อื่นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งไม่พบปัญหาเพราะได้เงินคืนมาจากสรรพากรมา 3-4 เดือนก่อนหน้านี้แล้ว เจ้าหน้าที่ปลายสายตอบกลับหลังคุยเป็นเวลาหลายนาที เธอบอกให้เขาเขียนเอกสารชี้แจงและขอแก้ไขหมวดหมู่เงินได้ใหม่ด้วยลายมือ เขียนในกระดาษแล้วลงนามกำกับ จากนั้นก็อัปโหลดลงในระบบออนไลน์ เจ้าหน้าที่เธอต้องการเอกสารที่ว่าไปทำไมกัน ทั้ง ๆ […]

เลือกแล้วที่จะ…

Reading Time: 2 minutesจุดร่วมของพวกเขาที่พบนอกเหนือจากอาการป่วยที่หนักหนาและความเป็นคนไร้บ้าน พวกเขามักปฏิเสธการช่วยเหลือให้ได้เข้าสู่การรักษาในโรงพยาบาล ทำไมเขาถึงเลือกแบบนั้น ทำไม… เป็นคำถามค้างคาใจอยู่พอสมควร คำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบจากเจ้าตัว คนที่เลือกแล้วที่จะไม่ไปโรงพยาบาล

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

ภูฐานที่คุณยังไม่รู้จัก … จากมุมมองของผู้หญิงภูฏาน

Reading Time: 2 minutesห้วงเวลาของผู้หญิงภูฏานในวันที่โลกมีแค่ขาวกับดำ หน้าที่ของหญิงสาวมีแค่ทำงานบ้านกับทำสวน และการต่อสู้ของหญิงสาวภูฐานที่ถูกจารึกไว้บนเทือกเขาหิมาลัย

ในดินแดนวิปลาส: สามัญชนคือคนเจ็บปวด

Reading Time: 3 minutesพวกเขาก็กลายเป็น ‘ภัย’ แห่งความมั่นคงของทุกสรรพสิ่ง ขึ้นอยู่กับว่าฝ่ายตรงข้ามจะยัดเยียดให้ เสมือนหนึ่งเป็นแอกที่พันธนาการพวกเขาให้สูญสิ้นชีวิตอันปกติสุข

ปราการสุดท้ายที่จะมีสิทธิในชีวิตปราศจากมลพิษพลาสติก INC-5.2 ยังมีหวัง

Reading Time: 4 minutesภายใต้ความท้าทายของการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกครั้งที่ 5 หรือ INC 5 ณ เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้เมื่อปลายปี 2567 การปรากฏขึ้นของ CHAIR’S TEXT หรือร่างข้อตกลงการพูดคุยถึง 32 มาตรา แต่ดูจะเป็นความหวังที่ยังพร่าเลือน เพราะมีคำสำคัญหลายประการที่ยังเป็นข้อถกเถียงในวงเจรจา
นำไปสู่การตั้งคำถามว่าเราจะยุติมลพิษพลาสติกได้จริง หรือจะเป็นเพียงแค่การจัดการขยะที่อาจเพิ่มมากขึ้น

sie / เธอ / ผู้หยัดยืน

Reading Time: 2 minutesสำหรับผู้หญิงแล้ว ถ้อยคำ คืออารยะขัดขืนมันได้กลายเป็นศัตรูของความกลัวที่เอาไว้ต่อสู้กับพวกเผด็จการ ทำให้ภาษาเป็นอาวุธและการประกาศสงครามทั่วทั้งหุบ หยัดยืน หรือ ‘Resto Qui’ นวนิยายลำดับ 4 ของ Marco Balzano นักเขียนชาวอิตาลี สนใจในรสแห่งถ้อยคำ เพราะเหมือนเป็นจุดเริ่มของประวัติศาสตร์ มันเป็นหน้าหนึ่งในประวัติศาสตร์อิตาลีที่ไม่เพียงขมขื่นแต่เปิดประเด็นให้ผู้อ่านฉุกคิดและตั้งคำถาม อย่างน้อยก็เรื่องคนงาน 26 คนที่ตายระหว่างการทำงาน

SLIDER • HERO

Journalism

‘สื่อสาธารณะของทุกคน’ ไม่ใช่แค่สโลแกน อ่านวิสัยทัศน์ ‘วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์’

Reading Time: 7 minutes“ก็ขอบคุณนะครับท่านกรรมการสรรหา แล้วก็ขอถือโอกาส สวัสดีผู้ชมทางบ้านนะครับ ก่อนอื่นก็ต้องขออภัยนิดนึงนะครับ เพราะว่าเพิ่งกลับจากอิตาลีเมื่อคืนนี้ ก็ยังเจ็ตแล็กอยู่ อาจจะเบลอ ๆ เล็กน้อย” “ก็ผมขอพูดสั้น ๆ นะครับว่ามีวิสัยทัศน์และแนวคิดเชิงกลยุทธ์ 6 ประเด็นเนี่ย ก่อนอื่นผมอยากจะพูดถึงสิ่งที่อยู่ในใจผม ว่าในฐานะที่ทําสื่อมา 30 กว่าปี สื่อสาธารณะของทุกคน ไม่ใช่สโลแกนนะครับ แต่ว่าเป็นคําถามในใจผมมาตลอด ว่าไทยพีบีเอสที่มีอายุ 17 ปี วันนี้เป็นสื่อสาธารณะของทุกคนหรือยัง” “เพราะว่าอันนี้เป็นคําถามที่สําคัญมากในความรู้สึกของผมนะครับ คือ สื่อสาธารณะคืออะไร ในความหมายของผม ผมอธิบายสั้น ๆ นะครับว่ามันเหมือนกับเป็นห้างสรรพสินค้าห้างนึง แล้วก็มี พวกเรานะครับ มาเปิดร้านขายของ แต่ในขณะเดียวกันเนี่ย เราก็เปิดโอกาสให้คนอื่น ๆ มาเปิดร้านขายของด้วยนะครับ แต่แน่นอนว่าในฐานะที่เราเป็นคนดูแลห้างสรรพสินค้านี้ เราก็ควรจะมีคนที่มาร้านค้าต่าง ๆ เนี่ย มีเสน่ห์ดึงดูดพอสมควร ไม่ใช่ เอ๊ะอะไรใครก็ได้นะครับ ประเภทของร้านอาหารที่เข้ามาทําเนี่ย มันก็คือ agenda ของพวกเราที่ว่าปีนี้เราอยากจะทําเรื่องสิทธิมนุษยชน เราอยากจะทําเรื่องผู้หญิง เราอยากจะทําเรื่อง whatever นะครับ เราก็เชิญร้านค้าเหล่านี้มาทําอาหาร […]

Journalism

‘สื่อเพื่อการเปลี่ยนผ่าน’ ก้าวต่อไป…ในวิสัยทัศน์ ‘ปัทมาวดี โพชนุกูล’

Reading Time: 3 minutesดิฉันเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลังจากลงจากตำแหน่ง ได้ไปทำงานกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเริ่มจากตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ ต่อด้วยผู้อำนวยการฝ่ายชุมชนและสังคม และสุดท้ายเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ ซึ่งดูแล Strategic Issues หรือประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 8 ประเด็นหลักของ สกว. ก่อนที่องค์กรจะมีการปรับโครงสร้างเป็นสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ในช่วงเปลี่ยนผ่านเป็น สกสว. ดิฉันได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และได้มีบทบาทในการวางระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมของประเทศ ทั้งในด้านการจัดทำแผนและจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงานกว่า 190 แห่ง ทำให้ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับทั้งหน่วยงานวิชาการและภาครัฐหลายแห่ง โดยใช้ “ข้อมูลและความรู้” เป็นเครื่องมือในการออกแบบการทำงาน ดิฉันเชื่ออย่างยิ่งว่า “ข้อมูลและความรู้” เป็นหัวใจของการปฏิรูประบบราชการ แต่น่าเสียดายที่ภาครัฐยังไม่เห็นความสำคัญของเรื่องนี้มากนัก เมื่อมีโอกาสได้เข้ามาร่วมกระบวนการกับไทยพีบีเอส ดิฉันมองว่า หากมีพื้นที่ให้ทำงาน ก็อยากผลักดันให้เกิดการใช้ข้อมูลและความรู้ในการขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เพื่อสังคมหรือประชาชนเท่านั้น แต่รวมถึงภาครัฐเอง ที่ต้องตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ข้อมูล ความรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ในช่วงที่ทำงานอยู่กับคณะเศรษฐศาสตร์ ดิฉันเคยมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินไทยพีบีเอส ได้มีโอกาสไปลงพื้นที่ที่สถานีต่างจังหวัด ไปพูดคุยกับสภาผู้ชมผู้ฟัง นักข่าวพลเมือง และสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้พอเข้าใจภาพรวมขององค์กร แม้สถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากก็ตาม […]

Journalism

Game Changer ในภูมิทัศน์สื่อแปรปรวน วิสัยทัศน์ ‘อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์’

Reading Time: 6 minutesผมเชื่อว่าเราน่าจะเห็นภาพกันพอสมควรว่า ธุรกิจที่เติบโตมา 40-50 ปี วิทยุโทรทัศน์-วิทยุกระจายเสียง ถูกสื่อใหม่ช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีแย่งชิงมวลชนอย่างราบคาบ แต่ถามว่าเราจะต้องทิ้งธุรกิจวิทยุโทรทัศน์ไหม ? มันคงเป็นไปไม่ได้ มันเป็นสื่อที่มีต้นทุนการเข้าถึงต่ำมากๆ โดยเฉพาะคนที่ด้อยโอกาสขาดโอกาส ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ สิ่งที่เราจะต้องตอบโจทย์เรื่องทีวีให้ได้ก็คือ ’คุณค่าและคุ้มค่า‘ เรามักจะพูดถึงความมีคุณค่าของสถานีหรือองค์การเราเสมอ แต่เราก็มักจะถูกตั้งคำถามถึงความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจอยู่เสมอ และค่อนขอดด้วยเงิน 2,000 ล้าน++ อยู่เสมอ อันนี้เป็นประเด็นที่ผมคิดว่ากับทีวีกับสื่อดั้งเดิมเรายังจำเป็นต้องยึดเอาไว้ ขณะเดียวกันสื่อใหม่เราต้องปรับตัว ปรับตัวไม่ได้หมายถึงการกระโจนเข้าสู่สื่อใหม่ในแบบที่ทุกแพลตฟอร์มทุกพื้นที่ แต่เราต้องทำความเข้าใจกับสิ่งนั้นอย่างลึกซึ้ง วันนี้เจนเอ็กซ์เจนวายค้นหาข้อมูลผ่าน Google เจนซีค้นหาผ่าน TikTok เจนอัลฟ่าบอกวันนี้ถาม ChatGPT, Gemini แต่คำถามคือเมื่อกระโดดเข้าสู่เทคโนโลยีใหม่ ๆ ช่องทางใหม่ เรารู้หรือเปล่าว่า AI ที่เราใช้อะไรอยู่เบื้องหลังตรงนั้นบ้าง เรารู้วิธีใช้เราไปถึงตรงนั้นแต่เราอาจจะยังไม่ได้เข้าใจวิธีการจัดการ ซึ่งสินค้าข้อมูลข่าวสารเป็นสินค้าสาธารณะ ซึ่งเรามีหน้าที่บทบาทในการทำสิ่งเหล่านี้ให้กับประชาชน ผมมองเรื่องของ Pestel Analysis คือโมเดลการวิเคราะห์ในภาพรวม ผมมองเป็นสองมิติ มิติหนึ่งก็คือว่าถ้าเรามีหน้าที่ในการส่งสินค้าหรือข่าวสาร Politics ไทยพีบีเอสเป็นตัวต่อเนื่องจาก itv ที่เกิดขึ้นหลังพฤษภาที่มีคนล้มตายเพราะเข้าไม่ถึงข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาเพราะโครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นกับไทยพีบีเอสผ่านมายังมีคนล้มตาย ด้วยอาจจะเข้าไม่ถึงข้อมูลมีคนควบคุมข้อมูลคนสังเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเพียงพอให้  […]

Journalism

คงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ศรัทธา DATA และความจริง วิสัยทัศน์ ‘หมออรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ’

Reading Time: 8 minutesสวัสดีคณะกรรมการทุกท่านนะครับ ผมทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศครับ ขออนุญาตอธิบายตัวเองนิดนึงสั้น ๆ ผมเป็นนักบริหาร เป็นนักสื่อสาร เป็นนักประสาน 10 ทิศนะครับ มีความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีแล้วก็ข้อมูล แล้วก็มีแพชชันเรื่องของการสร้างสุขสาธารณะนะครับ ที่พูดสั้น ๆ แบบนี้เพราะว่าแบ็คกราวน์ผมเริ่มตั้งแต่ผมเป็นทันตแพทย์ จบคณะการแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 35 อันเป็นการจบทางด้านวิชาชีพ แต่ว่าบทเรียนชีวิตให้อยู่ในสังคมได้จะเป็นกิจกรรมนักศึกษา ผมทํากิจกรรมนักศึกษามาตั้งแต่ปีหนึ่ง จำได้ว่าปีหนึ่งเนี่ยเกรด 2.41 เทอมหนึ่งนะฮะ เทอม 2 ไปเป็นประธานรุ่น เกรดเหลือ 2.14 นะครับ ทํามาหลายชมรมมาก แสงเสียงประชาสัมพันธ์และปี 6 เนี่ยได้รับเลือกเป็นนายกสโมฯ อันนั้นสอนการอยู่ในสังคมว่าอยู่ได้ยังไง จบแล้วไปทํางานอยู่ต่างจังหวัด ไปอยู่ที่โรงพยาบาลจังหวัดแพร่ ไกลมากเลยนะครับ ไปที่นั่นไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือทํางาน ในขณะที่รอเครื่องไม้เครื่องมือทํางานเนี่ย ผมมีกีต้าร์เป็นอาวุธฮะ ไปทําความรู้จักพูดไปวันไหน เขาไม่รู้จักหมอฟันคือใครก็เข้าไปที่โรงเรียน เข้าไปที่ชุมชนเอากีตาร์ไปร้องรําทําเพลงให้เขารู้จักเรา มันก็ได้ผล พอตอนที่ทํางานจริง ๆ เนี่ยไม่กลัวหมอฟันแล้วนะครับ หลังจากนั้นผมไปเรียนต่อ ผมชอบเทคโนโลยีก็เลือกไปเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ที่คณะวิศวะ จุฬาฯ ครับ อยากจะเรียนดูว่าเทคโนโลยีมันเป็นยังไง ผมทําวิทยานิพนธ์เรื่องของการออกแบบฟันปลอมบางส่วนถอดได้ […]

Journalism

โต้คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง สู่ Impact Maker วิสัยทัศน์ ‘รัฐศาสตร์ กรสูต’

Reading Time: 5 minutes“ขอสวัสดีท่านคณะกรรมการนะครับ รวมถึงทุกท่านทางบ้านด้วย รัฐศาสตร์ กรสูตร ผู้รับการสมัครสรรหาผอ. ThaiPBS นะครับ วันนี้ผมมาพบกับทุกท่านนะครับเพราะผมเชื่อว่าในทุกความเปลี่ยนแปลงย่อมนำมาซึ่งความเป็นไปได้ที่ดีกว่าเสมอนะครับ ผมเป็นคนแรกวันนี้” ผมเริ่มงานครั้งแรกในชีวิตเนี่ยตอนอายุ 17 ตอนเรียนปี 1 ที่ธรรมศาสตร์ผมได้รับ โอกาสไปเป็นศิลปินในค่ายแกรมมี่ ตอนนั้นมันคล้าย ๆ กับโรงเรียนแรกของผมที่ทำให้ผมได้เรียนรู้ถึงอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ที่นี่ผมได้พบกับเพื่อนพี่น้องมากมายที่วันนี้ก็ยังเป็นเพื่อนกันอยู่นะครับเรายังพูดคุยกัน ติดต่อสื่อสารกันผมมี mindset เดียวกับพวกเขา ผมพูดภาษาเดียวกับพวกเขา เพราะว่าผมเองก็เป็นหนึ่งในพวกเขาเหมือนกัน นี่เป็นที่แรกที่ทำให้ผมได้ค้นพบว่า พลังของดิจิทัลรุนแรงมหาศาลขนาดไหน “ผมได้เห็นองค์กรที่ต้องรับมือกับความท้าทายของความเปลี่ยนแปลงเรื่องของ technology มันเป็น Wave of Digital Disruption ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวงการอุตสาหกรรมเพลงไม่เหมือนเดิมอีก และที่ทำให้ผมตัดสินใจไปเรียนต่อ ปริญญาโทด้านไอทีเพื่อที่จะจบกลับมาทำงานด้านวงการไอที ทำซอฟต์แวร์ SAP ทำ Telecom ในช่วงนั้นเนี่ยเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมไทยเนี่ยค่อย ๆ เปลี่ยนการสื่อสารเนี่ยจากสื่อดั้งเดิมไปเป็นสื่อใหม่ที่เรียกว่าสื่อออนไลน์” “ผมเองก็ทำงานและเติบโตอยู่ในช่วงนั้นจนกระทั่งช่วงปี 2010 ผมได้มีโอกาสทำงานกับบริษัทเนซen เป็นผู้บริหารครั้งแรกดูแลเว็บไซต์ sanook.com เป็นเว็บอันดับ 1 ของประเทศไทย ณ ตอนนั้น ที่นี่พอ เริ่มงานแรกก็เจอ wave ที่ 2 ซัดเข้ามา มันเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมสื่อมันเริ่มเปลี่ยน […]

Crack Politics

พรรคราชการไม่มีวันตาย

Reading Time: 2 minutesก่อนจะถึงบรรทัดสุดท้าย ก็ ‘เบื่อหน่าย’ ซะก่อน หลายปีมานี้คนไทยยื่นภาษีง่ายขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ใช่ ใช่ มันง่ายและสะดวกมากขึ้น เป็นวิธีการที่พยายามอำนวยความสะดวก ลดรูปความเป็นราชการโดยใช้ระบบออนไลน์เป็นตัวช่วย แต่แค่ลดรูปเท่านั้น รากทางความคิดเชิงระบบระเบียบยังอยู่ ต้นปี 2568 เพื่อนของเรายื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ ผ่านไปหลายเดือนจนเราได้เงินภาษีโอนคืนมา แต่ใน User ของเพื่อนยังแจ้งเตือนในระบบว่าขอเอกสารเพิ่ม เขาส่งเอกสารเข้าระบบตามที่มีการแจ้งว่ายังขาด มันน่าจะจบใช่ไหม ? แต่ยัง ยังไม่ได้เงินคืนแม้เวลาผ่านไปนานหลายเดือนจนเกือบถอดใจ ได้ภาษีคืนรึยัง ? เราถาม เพราะความยุ่งยากในการติดต่อเจ้าหน้าที่ทำให้เราไม่ได้รับคำถาม คำถามที่ว่าวนซ้ำมากกว่า 3 ครั้งในรอบหนึ่งเดือน ในที่สุดเพื่อนของเราก็ต่อสายโทรกลับไปที่เจ้าหน้าที่ภาษีในจังหวัดชุมพร แต่เจ้าหน้าที่สรรพากรบอกเรื่องการยื่นเอกสารเพิ่มเติมดังกล่าวยังค้างอยู่ที่ศูนย์ใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างเดียวที่ทำได้คือ รอ รอ รอต่อไป                          เดือนเศษไม่ได้รับการตอบกลับจากเจ้าหน้าที่ ผู้ยื่นภาษีติดต่อไปผ่านเบอร์โทรศัพท์หน่วยงานราชการ และอย่างที่รู้โทรไม่สำเร็จในครั้งแรก หลายวันต่อก็ยังโทรจนโชคเข้าข้าง หลังรอสายอยู่หลายนาทีเจ้าหน้าที่ปลายสายแจ้งว่ามีการกรอกหมวดหมู่ที่มารายได้พิเศษผิดประเภท ผู้ยื่นภาษียืนยันกลับว่า ไม่มีหมวดหมู่ดังกล่าวในระบบ และเราเองซึ่งมีรายรับในหมวดหมู่เดียวกันนั้นก็ยืนยันว่าไม่มีหมวดหมู่ให้เลือกกรอกตามที่เจ้าหน้าที่อ้าง ตัวเราจึงเลือกกรอกหมวดหมู่อื่นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งไม่พบปัญหาเพราะได้เงินคืนมาจากสรรพากรมา 3-4 เดือนก่อนหน้านี้แล้ว เจ้าหน้าที่ปลายสายตอบกลับหลังคุยเป็นเวลาหลายนาที เธอบอกให้เขาเขียนเอกสารชี้แจงและขอแก้ไขหมวดหมู่เงินได้ใหม่ด้วยลายมือ เขียนในกระดาษแล้วลงนามกำกับ จากนั้นก็อัปโหลดลงในระบบออนไลน์ เจ้าหน้าที่เธอต้องการเอกสารที่ว่าไปทำไมกัน ทั้ง ๆ […]

Welfare state

เลือกแล้วที่จะ…

Reading Time: 2 minutesจุดร่วมของพวกเขาที่พบนอกเหนือจากอาการป่วยที่หนักหนาและความเป็นคนไร้บ้าน พวกเขามักปฏิเสธการช่วยเหลือให้ได้เข้าสู่การรักษาในโรงพยาบาล ทำไมเขาถึงเลือกแบบนั้น ทำไม… เป็นคำถามค้างคาใจอยู่พอสมควร คำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบจากเจ้าตัว คนที่เลือกแล้วที่จะไม่ไปโรงพยาบาล

Backpack Journalist

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Crack Politics

เชื่อผู้นำ ชาติ(ไม่)พ้นภัย: บทเรียนจากบราซิล

Reading Time: 2 minutesบราซิลมีโครงสร้างพื้นฐานทางสาธารณสุขที่ดี แต่ดูเหมือนสิ่งเดียวที่ประเทศขาดไปคือ รัฐบาลและผู้นำที่ดี

Columnist

มังกร ‘สี’ พ่นไฟ ไม่ซ่อนเล็บ

Reading Time: 4 minutesมันเป็นความฝันของฉันเมื่อ 25 ปีที่แล้ว อเมริกาจึงเป็นหมุดหมายที่คนวัยฉันต้องไปให้ถึงอาจเพราะเป็นดินแดนแห่งความหวัง เสรีภาพ และการสร้างเนื้อสร้างตัว สร้างความสำเร็จให้กับชีวิตที่พอรับรู้ได้ในวัยนั้น ต่างจากความฝันของจีน หรือ 中國夢 หรือ จงกั๋วเมิ่ง ซึ่งเป็นคำใหม่ในความคิดสังคมนิยมจีนและอธิบายชุดอุดมคติในจีนที่เกิดจากสี จิ้นผิง

SLIDER • CARD

Journalism

‘สื่อสาธารณะของทุกคน’ ไม่ใช่แค่สโลแกน อ่านวิสัยทัศน์ ‘วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์’

Reading Time: 7 minutes“ก็ขอบคุณนะครับท่านกรรมการสรรหา แล้วก็ขอถือโอกาส สวัสดีผู้ชมทางบ้านนะครับ ก่อนอื่นก็ต้องขออภัยนิดนึงนะครับ เพราะว่าเพิ่งกลับจากอิตาลีเมื่อคืนนี้ ก็ยังเจ็ตแล็กอยู่ อาจจะเบลอ ๆ เล็กน้อย” “ก็ผมขอพูดสั้น ๆ นะครับว่ามีวิสัยทัศน์และแนวคิดเชิงกลยุทธ์ 6 ประเด็นเนี่ย ก่อนอื่นผมอยากจะพูดถึงสิ่งที่อยู่ในใจผม ว่าในฐานะที่ทําสื่อมา 30 กว่าปี สื่อสาธารณะของทุกคน ไม่ใช่สโลแกนนะครับ แต่ว่าเป็นคําถามในใจผมมาตลอด ว่าไทยพีบีเอสที่มีอายุ 17 ปี วันนี้เป็นสื่อสาธารณะของทุกคนหรือยัง” “เพราะว่าอันนี้เป็นคําถามที่สําคัญมากในความรู้สึกของผมนะครับ คือ สื่อสาธารณะคืออะไร ในความหมายของผม ผมอธิบายสั้น ๆ นะครับว่ามันเหมือนกับเป็นห้างสรรพสินค้าห้างนึง แล้วก็มี พวกเรานะครับ มาเปิดร้านขายของ แต่ในขณะเดียวกันเนี่ย เราก็เปิดโอกาสให้คนอื่น ๆ มาเปิดร้านขายของด้วยนะครับ แต่แน่นอนว่าในฐานะที่เราเป็นคนดูแลห้างสรรพสินค้านี้ เราก็ควรจะมีคนที่มาร้านค้าต่าง ๆ เนี่ย มีเสน่ห์ดึงดูดพอสมควร ไม่ใช่ เอ๊ะอะไรใครก็ได้นะครับ ประเภทของร้านอาหารที่เข้ามาทําเนี่ย มันก็คือ agenda ของพวกเราที่ว่าปีนี้เราอยากจะทําเรื่องสิทธิมนุษยชน เราอยากจะทําเรื่องผู้หญิง เราอยากจะทําเรื่อง whatever นะครับ เราก็เชิญร้านค้าเหล่านี้มาทําอาหาร […]

Decode
Journalism

‘สื่อเพื่อการเปลี่ยนผ่าน’ ก้าวต่อไป…ในวิสัยทัศน์ ‘ปัทมาวดี โพชนุกูล’

Reading Time: 3 minutesดิฉันเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลังจากลงจากตำแหน่ง ได้ไปทำงานกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเริ่มจากตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ ต่อด้วยผู้อำนวยการฝ่ายชุมชนและสังคม และสุดท้ายเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ ซึ่งดูแล Strategic Issues หรือประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 8 ประเด็นหลักของ สกว. ก่อนที่องค์กรจะมีการปรับโครงสร้างเป็นสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ในช่วงเปลี่ยนผ่านเป็น สกสว. ดิฉันได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และได้มีบทบาทในการวางระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมของประเทศ ทั้งในด้านการจัดทำแผนและจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงานกว่า 190 แห่ง ทำให้ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับทั้งหน่วยงานวิชาการและภาครัฐหลายแห่ง โดยใช้ “ข้อมูลและความรู้” เป็นเครื่องมือในการออกแบบการทำงาน ดิฉันเชื่ออย่างยิ่งว่า “ข้อมูลและความรู้” เป็นหัวใจของการปฏิรูประบบราชการ แต่น่าเสียดายที่ภาครัฐยังไม่เห็นความสำคัญของเรื่องนี้มากนัก เมื่อมีโอกาสได้เข้ามาร่วมกระบวนการกับไทยพีบีเอส ดิฉันมองว่า หากมีพื้นที่ให้ทำงาน ก็อยากผลักดันให้เกิดการใช้ข้อมูลและความรู้ในการขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เพื่อสังคมหรือประชาชนเท่านั้น แต่รวมถึงภาครัฐเอง ที่ต้องตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ข้อมูล ความรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างจริงจัง ในช่วงที่ทำงานอยู่กับคณะเศรษฐศาสตร์ ดิฉันเคยมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินไทยพีบีเอส ได้มีโอกาสไปลงพื้นที่ที่สถานีต่างจังหวัด ไปพูดคุยกับสภาผู้ชมผู้ฟัง นักข่าวพลเมือง และสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้พอเข้าใจภาพรวมขององค์กร แม้สถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากก็ตาม […]

Decode
Journalism,News

Game Changer ในภูมิทัศน์สื่อแปรปรวน วิสัยทัศน์ ‘อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์’

Reading Time: 6 minutesผมเชื่อว่าเราน่าจะเห็นภาพกันพอสมควรว่า ธุรกิจที่เติบโตมา 40-50 ปี วิทยุโทรทัศน์-วิทยุกระจายเสียง ถูกสื่อใหม่ช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีแย่งชิงมวลชนอย่างราบคาบ แต่ถามว่าเราจะต้องทิ้งธุรกิจวิทยุโทรทัศน์ไหม ? มันคงเป็นไปไม่ได้ มันเป็นสื่อที่มีต้นทุนการเข้าถึงต่ำมากๆ โดยเฉพาะคนที่ด้อยโอกาสขาดโอกาส ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ สิ่งที่เราจะต้องตอบโจทย์เรื่องทีวีให้ได้ก็คือ ’คุณค่าและคุ้มค่า‘ เรามักจะพูดถึงความมีคุณค่าของสถานีหรือองค์การเราเสมอ แต่เราก็มักจะถูกตั้งคำถามถึงความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจอยู่เสมอ และค่อนขอดด้วยเงิน 2,000 ล้าน++ อยู่เสมอ อันนี้เป็นประเด็นที่ผมคิดว่ากับทีวีกับสื่อดั้งเดิมเรายังจำเป็นต้องยึดเอาไว้ ขณะเดียวกันสื่อใหม่เราต้องปรับตัว ปรับตัวไม่ได้หมายถึงการกระโจนเข้าสู่สื่อใหม่ในแบบที่ทุกแพลตฟอร์มทุกพื้นที่ แต่เราต้องทำความเข้าใจกับสิ่งนั้นอย่างลึกซึ้ง วันนี้เจนเอ็กซ์เจนวายค้นหาข้อมูลผ่าน Google เจนซีค้นหาผ่าน TikTok เจนอัลฟ่าบอกวันนี้ถาม ChatGPT, Gemini แต่คำถามคือเมื่อกระโดดเข้าสู่เทคโนโลยีใหม่ ๆ ช่องทางใหม่ เรารู้หรือเปล่าว่า AI ที่เราใช้อะไรอยู่เบื้องหลังตรงนั้นบ้าง เรารู้วิธีใช้เราไปถึงตรงนั้นแต่เราอาจจะยังไม่ได้เข้าใจวิธีการจัดการ ซึ่งสินค้าข้อมูลข่าวสารเป็นสินค้าสาธารณะ ซึ่งเรามีหน้าที่บทบาทในการทำสิ่งเหล่านี้ให้กับประชาชน ผมมองเรื่องของ Pestel Analysis คือโมเดลการวิเคราะห์ในภาพรวม ผมมองเป็นสองมิติ มิติหนึ่งก็คือว่าถ้าเรามีหน้าที่ในการส่งสินค้าหรือข่าวสาร Politics ไทยพีบีเอสเป็นตัวต่อเนื่องจาก itv ที่เกิดขึ้นหลังพฤษภาที่มีคนล้มตายเพราะเข้าไม่ถึงข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาเพราะโครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นกับไทยพีบีเอสผ่านมายังมีคนล้มตาย ด้วยอาจจะเข้าไม่ถึงข้อมูลมีคนควบคุมข้อมูลคนสังเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเพียงพอให้  […]

Decode
Journalism

คงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ศรัทธา DATA และความจริง วิสัยทัศน์ ‘หมออรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ’

Reading Time: 8 minutesสวัสดีคณะกรรมการทุกท่านนะครับ ผมทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศครับ ขออนุญาตอธิบายตัวเองนิดนึงสั้น ๆ ผมเป็นนักบริหาร เป็นนักสื่อสาร เป็นนักประสาน 10 ทิศนะครับ มีความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีแล้วก็ข้อมูล แล้วก็มีแพชชันเรื่องของการสร้างสุขสาธารณะนะครับ ที่พูดสั้น ๆ แบบนี้เพราะว่าแบ็คกราวน์ผมเริ่มตั้งแต่ผมเป็นทันตแพทย์ จบคณะการแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 35 อันเป็นการจบทางด้านวิชาชีพ แต่ว่าบทเรียนชีวิตให้อยู่ในสังคมได้จะเป็นกิจกรรมนักศึกษา ผมทํากิจกรรมนักศึกษามาตั้งแต่ปีหนึ่ง จำได้ว่าปีหนึ่งเนี่ยเกรด 2.41 เทอมหนึ่งนะฮะ เทอม 2 ไปเป็นประธานรุ่น เกรดเหลือ 2.14 นะครับ ทํามาหลายชมรมมาก แสงเสียงประชาสัมพันธ์และปี 6 เนี่ยได้รับเลือกเป็นนายกสโมฯ อันนั้นสอนการอยู่ในสังคมว่าอยู่ได้ยังไง จบแล้วไปทํางานอยู่ต่างจังหวัด ไปอยู่ที่โรงพยาบาลจังหวัดแพร่ ไกลมากเลยนะครับ ไปที่นั่นไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือทํางาน ในขณะที่รอเครื่องไม้เครื่องมือทํางานเนี่ย ผมมีกีต้าร์เป็นอาวุธฮะ ไปทําความรู้จักพูดไปวันไหน เขาไม่รู้จักหมอฟันคือใครก็เข้าไปที่โรงเรียน เข้าไปที่ชุมชนเอากีตาร์ไปร้องรําทําเพลงให้เขารู้จักเรา มันก็ได้ผล พอตอนที่ทํางานจริง ๆ เนี่ยไม่กลัวหมอฟันแล้วนะครับ หลังจากนั้นผมไปเรียนต่อ ผมชอบเทคโนโลยีก็เลือกไปเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ที่คณะวิศวะ จุฬาฯ ครับ อยากจะเรียนดูว่าเทคโนโลยีมันเป็นยังไง ผมทําวิทยานิพนธ์เรื่องของการออกแบบฟันปลอมบางส่วนถอดได้ […]

Decode
Journalism

โต้คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง สู่ Impact Maker วิสัยทัศน์ ‘รัฐศาสตร์ กรสูต’

Reading Time: 5 minutes“ขอสวัสดีท่านคณะกรรมการนะครับ รวมถึงทุกท่านทางบ้านด้วย รัฐศาสตร์ กรสูตร ผู้รับการสมัครสรรหาผอ. ThaiPBS นะครับ วันนี้ผมมาพบกับทุกท่านนะครับเพราะผมเชื่อว่าในทุกความเปลี่ยนแปลงย่อมนำมาซึ่งความเป็นไปได้ที่ดีกว่าเสมอนะครับ ผมเป็นคนแรกวันนี้” ผมเริ่มงานครั้งแรกในชีวิตเนี่ยตอนอายุ 17 ตอนเรียนปี 1 ที่ธรรมศาสตร์ผมได้รับ โอกาสไปเป็นศิลปินในค่ายแกรมมี่ ตอนนั้นมันคล้าย ๆ กับโรงเรียนแรกของผมที่ทำให้ผมได้เรียนรู้ถึงอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน ที่นี่ผมได้พบกับเพื่อนพี่น้องมากมายที่วันนี้ก็ยังเป็นเพื่อนกันอยู่นะครับเรายังพูดคุยกัน ติดต่อสื่อสารกันผมมี mindset เดียวกับพวกเขา ผมพูดภาษาเดียวกับพวกเขา เพราะว่าผมเองก็เป็นหนึ่งในพวกเขาเหมือนกัน นี่เป็นที่แรกที่ทำให้ผมได้ค้นพบว่า พลังของดิจิทัลรุนแรงมหาศาลขนาดไหน “ผมได้เห็นองค์กรที่ต้องรับมือกับความท้าทายของความเปลี่ยนแปลงเรื่องของ technology มันเป็น Wave of Digital Disruption ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวงการอุตสาหกรรมเพลงไม่เหมือนเดิมอีก และที่ทำให้ผมตัดสินใจไปเรียนต่อ ปริญญาโทด้านไอทีเพื่อที่จะจบกลับมาทำงานด้านวงการไอที ทำซอฟต์แวร์ SAP ทำ Telecom ในช่วงนั้นเนี่ยเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมไทยเนี่ยค่อย ๆ เปลี่ยนการสื่อสารเนี่ยจากสื่อดั้งเดิมไปเป็นสื่อใหม่ที่เรียกว่าสื่อออนไลน์” “ผมเองก็ทำงานและเติบโตอยู่ในช่วงนั้นจนกระทั่งช่วงปี 2010 ผมได้มีโอกาสทำงานกับบริษัทเนซen เป็นผู้บริหารครั้งแรกดูแลเว็บไซต์ sanook.com เป็นเว็บอันดับ 1 ของประเทศไทย ณ ตอนนั้น ที่นี่พอ เริ่มงานแรกก็เจอ wave ที่ 2 ซัดเข้ามา มันเป็นช่วงที่อุตสาหกรรมสื่อมันเริ่มเปลี่ยน […]

Decode
Crack Politics,Play Read

พรรคราชการไม่มีวันตาย

Reading Time: 2 minutesก่อนจะถึงบรรทัดสุดท้าย ก็ ‘เบื่อหน่าย’ ซะก่อน หลายปีมานี้คนไทยยื่นภาษีง่ายขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ใช่ ใช่ มันง่ายและสะดวกมากขึ้น เป็นวิธีการที่พยายามอำนวยความสะดวก ลดรูปความเป็นราชการโดยใช้ระบบออนไลน์เป็นตัวช่วย แต่แค่ลดรูปเท่านั้น รากทางความคิดเชิงระบบระเบียบยังอยู่ ต้นปี 2568 เพื่อนของเรายื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ ผ่านไปหลายเดือนจนเราได้เงินภาษีโอนคืนมา แต่ใน User ของเพื่อนยังแจ้งเตือนในระบบว่าขอเอกสารเพิ่ม เขาส่งเอกสารเข้าระบบตามที่มีการแจ้งว่ายังขาด มันน่าจะจบใช่ไหม ? แต่ยัง ยังไม่ได้เงินคืนแม้เวลาผ่านไปนานหลายเดือนจนเกือบถอดใจ ได้ภาษีคืนรึยัง ? เราถาม เพราะความยุ่งยากในการติดต่อเจ้าหน้าที่ทำให้เราไม่ได้รับคำถาม คำถามที่ว่าวนซ้ำมากกว่า 3 ครั้งในรอบหนึ่งเดือน ในที่สุดเพื่อนของเราก็ต่อสายโทรกลับไปที่เจ้าหน้าที่ภาษีในจังหวัดชุมพร แต่เจ้าหน้าที่สรรพากรบอกเรื่องการยื่นเอกสารเพิ่มเติมดังกล่าวยังค้างอยู่ที่ศูนย์ใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างเดียวที่ทำได้คือ รอ รอ รอต่อไป                          เดือนเศษไม่ได้รับการตอบกลับจากเจ้าหน้าที่ ผู้ยื่นภาษีติดต่อไปผ่านเบอร์โทรศัพท์หน่วยงานราชการ และอย่างที่รู้โทรไม่สำเร็จในครั้งแรก หลายวันต่อก็ยังโทรจนโชคเข้าข้าง หลังรอสายอยู่หลายนาทีเจ้าหน้าที่ปลายสายแจ้งว่ามีการกรอกหมวดหมู่ที่มารายได้พิเศษผิดประเภท ผู้ยื่นภาษียืนยันกลับว่า ไม่มีหมวดหมู่ดังกล่าวในระบบ และเราเองซึ่งมีรายรับในหมวดหมู่เดียวกันนั้นก็ยืนยันว่าไม่มีหมวดหมู่ให้เลือกกรอกตามที่เจ้าหน้าที่อ้าง ตัวเราจึงเลือกกรอกหมวดหมู่อื่นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งไม่พบปัญหาเพราะได้เงินคืนมาจากสรรพากรมา 3-4 เดือนก่อนหน้านี้แล้ว เจ้าหน้าที่ปลายสายตอบกลับหลังคุยเป็นเวลาหลายนาที เธอบอกให้เขาเขียนเอกสารชี้แจงและขอแก้ไขหมวดหมู่เงินได้ใหม่ด้วยลายมือ เขียนในกระดาษแล้วลงนามกำกับ จากนั้นก็อัปโหลดลงในระบบออนไลน์ เจ้าหน้าที่เธอต้องการเอกสารที่ว่าไปทำไมกัน ทั้ง ๆ […]

วิภาพร วัฒนวิทย์
Welfare state

เลือกแล้วที่จะ…

Reading Time: 2 minutesจุดร่วมของพวกเขาที่พบนอกเหนือจากอาการป่วยที่หนักหนาและความเป็นคนไร้บ้าน พวกเขามักปฏิเสธการช่วยเหลือให้ได้เข้าสู่การรักษาในโรงพยาบาล ทำไมเขาถึงเลือกแบบนั้น ทำไม… เป็นคำถามค้างคาใจอยู่พอสมควร คำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบจากเจ้าตัว คนที่เลือกแล้วที่จะไม่ไปโรงพยาบาล

สิทธิพล ชูประจง
Backpack Journalist,Documentary,Sustainability,VDO

AFTER Documentary Series

Reading Time: 3 minutesDecode Original Documentary Series ในเครื่องหมายคำถาม Our World Heritage in Danger? เรื่องราวของมนุษย์ผู้โดดเดี่ยวเฝ้ามองสิ่งมีชีวิตอื่นนอกจากตัวเขาเอง

Decode
Futurism,Journalism,Story,Sustainability

อาสาอุบัติใหม่ เพื่อนบ้านในสงครามโควิด

Reading Time: 3 minutesท่ามกลางโรคอุบัติใหม่อย่างโควิด19 ที่เปรียบเสมือนอาวุธสงครามอันร้ายกาจและเป็นภัยต่อเผ่าพันธุ์มนุษย์ ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างมากขึ้นเมื่อผสมโรงเข้ากับมาตรการที่ออกมาไม่ว่าจะ #Stayhome หรือ #SocialDistancing งานนี้เรียกได้ว่าเป็นอาวุธสงครามที่กวาดล้างแทบจะทุกวงการจริงๆ ตั้งแต่ ธุรกิจ การศึกษา คมนาคม หรือแม้แต่การทำงานด้านอาสาก็ไม่เว้น ส่งผลให้คำว่า ‘การรวมตัว’ กันทำงานด้านอาสานั้นคงอยู่รูปแบบเดิมไม่ได้แล้ว

พลอยธิดา เกตุแก้ว
Election,News

สัญญาใจนโยบายคนพิการ วัดใจ 2 ล้านกว่าเสียงชี้ชะตาก่อนเลือกตั้ง

Reading Time: 3 minutesฟังเสียงจากเวที “ประชาชนคนพิการอยู่ไหนในการเมืองไทย” พร้อมกับไปฟังมุมมองจากตัวแทนพรรคการเมืองต่างๆ เกี่ยวกับนโยบายสำหรับคนพิการ และตอบข้อสงสัยว่า ตกลงแล้วคนพิการอยู่ตรงไหนในนโยบายและมุมมองของรัฐ 

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​
Play Read,Young Spirit

ชายผู้ออกตามหาแกะดาว

Reading Time: 2 minutesทั้งไตรภาค มีตัวเอกของเรื่องอยู่แค่สองคน คือมุสิกและ ‘ผม’ (ที่เป็นตัวละครหลักของเรื่อง) หนังสือปูพื้นการเติบโตของตัวละครมาตั้งแต่เล่มแรกที่ทั้งสองเป็นคนวัยกลางคน กำลังทำธุรกิจสิ่งพิมพ์ และเติบโตตามช่วงวัย ไล่ล่าความฝันอย่างที่คนหนุ่มสาวในประเทศญี่ปุ่นเคยไล่ล่า เล่าถึงการหลุดพ้นจากยุคเกษตรกรรมที่กำลังถูกส่งต่อไปยังยุคอุตสาหกรรม เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา
Columnist,Human & Society

ดีกรีของความเป็นชุมชน

Reading Time: 3 minutesแม้ว่าปัจจุบันคนจำนวนมากพูดคุยผ่านสื่อสังคมออนไลน์บ่อยครั้งกว่าพูดคุยเพื่อนบ้านที่อาศัยอยู่ติดกันเสียอีก แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าชุมชนบนฐานของสถานที่ (place-based community) ที่ผู้คนพบหน้าค่าตากันจริง ๆ จะหมดความหมายโดยสิ้นเชิง และหากเปรียบเทียบกันแล้ว สถานที่ที่ผู้คนได้พบหน้ากันตัวเป็น ๆ ช่วยส่งเสริมให้เกิดความเหนียวแน่นมากกว่าชุมชนไร้สถานที่ (place-less community) เช่น ชุมชนบนโลกออนไลน์

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา

SLIDER TO GRID • CAPTION